30.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ปริมาณของแข็งที่ละลายน้ําไดทั้งหมดและปริมาณกรดที่ไทเทรตไดของเงาะมีคาเปลี่ยนแปลงไป<br />

แต<br />

พบวาเกิดการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กนอยเทานั้นเมื่อเทียบกับผลไมในกลุมไคลแมคเทริค<br />

การเกิดโรค<br />

หลังการเก็บเกี่ยวผลิตผล<br />

นอกจากการเปลี่ยนแปลงตางๆที่เกิดขึ้นเองภายในจะทําใหผลิตผล<br />

เสื่อมสภาพลงแลว<br />

สภาพแวดลอมไดแก อุณหภูมิ และความชื้นมีสวนเสริมหรือชะลอการเสื่อม<br />

สภาพไดดวย ปจจัยสําคัญอีกอยางหนึ่งที่เปนสาเหตุสําคัญของการสูญเสียภายหลังการเก็บเกี่ยวไดแก<br />

โรคซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากการเขาทําลายของเชื้อจุลินทรียอันประกอบดวยเชื้อราและแบคทีเรีย<br />

เชน การ<br />

เนาเสียของผลลําไยและเงาะ ทําใหมีอายุการเก็บรักษาสั้น<br />

ไมสามารถสงไปขายยังตลาดที่ไกลๆ<br />

ได<br />

(จริงแท, 2546) การเนาเสียของเงาะมีสาเหตุจากเชื้อราหลายชนิด<br />

เชื้อราชนิดที่พบในผลเงาะที่ปลูก<br />

ในประเทศไทยมี 3 ชนิด คือ Botryodiplodia theobromae, Gliocephalotrichum Bulblium และ<br />

Collectotrichum gloeosporioedes (Farungoang et al., 1991) อาการเนาเสียที่เกิดจากเชื้อราชนิด<br />

Botryodiplodia theobromae คือ มีรอยแผลสีน้ําตาลดําเกิดขึ้นที่ผิวเปลือก<br />

บริเวณแผลมีลักษณะฉ่ําน้ํา<br />

ผิวเปลือกดานในเปลี่ยนเปนสีน้ําตาลดําตรงบริเวณแผล<br />

และมีแนวโนมการขยายของบาดแผลกวาง<br />

ขึ้น<br />

เมื่อระยะเวลานานขึ้น<br />

เนื้อผลดานในจะมีน้ําไหลเยิ้ม<br />

รวมทั้งมีกลิ่นเหม็นเปรี้ยว<br />

สงผลใหเงาะเกิด<br />

การเสื่อม<br />

สภาพอยางรวดเร็ว ไมเปนที่ยอมรับของผูบริโภค<br />

และหมดอายุการเก็บรักษาในที่สุด<br />

การ<br />

เก็บรักษาผลเงาะในสภาพอุณหภูมิที่ระดับแตกตางกัน<br />

สงผลตอการแพรขยายของเชื้อรา<br />

และ<br />

กอใหเกิดอาการเสื่อมสภาพของผลเงาะแตกตางกันดวย<br />

(Sangchote et al., 1992)<br />

การควบคุมโรคของผลิตผลภายหลังการเก็บเกี่ยวมีแนวทางปฏิบัติหลายวิธี<br />

เชน การเก็บ<br />

รักษาในสภาพที่มีอุณหภูมิต่ํา<br />

การดัดแปลงบรรยากาศ การใชสารเคมี และการฉายรังสี เปนตนโดย<br />

แตละวิธีตอบสนองกับผลิตผลและโรคแตละชนิดที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิและความชื้นในระหวางการ<br />

เก็บรักษาเปนปจจัยสําคัญที่สุดในการเกิดโรคของผลิตผล<br />

อุณหภูมิต่ําสามารถชะลอการเจริญเติบโต<br />

ของเชื้อจุลินทรียที่กอใหเกิดโรคได<br />

ดังนั้นการเก็บรักษาจึงควรลดอุณหภูมิใหต่ําลงมากที่สุด<br />

โดยไม<br />

ต่ําเกินไปจนกอใหเกิดอาการสะทานหนาว<br />

ผลิตผลในเขตรอนหลายชนิดอุณหภูมิที่ต่ําที่สุดนี้มักอยู<br />

ประมาณ 10-15 องศาเซลเซียส เชื้อจุลินทรียตางๆ<br />

ก็ยังสามารถเจริญเติบโตได ดังนั้นการเก็บรักษาที่<br />

อุณหภูมิต่ําจึงควรปฏิบัติรวมกับแนวทางอื่นดวย<br />

เชน การเก็บรักษาในสภาพที่มีความชื้นต่ําแตไม<br />

ควรต่ําจนเกินไปเพราะอาจจะทําใหผลิตผลสูญเสียน้ําจนเกิดอาการเหี่ยวและเนื้อสัมผัสเปลี่ยนแปลง<br />

ไป ในการดัดแปลงบรรยากาศในการเก็บรักษาผลิตผลก็สงผลตอการเจริญของจุลินทรียไดเชนกัน<br />

(จริงแท, 2546) ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ<br />

วาริชและคณะ (2542) พบวา เมื่อเก็บรักษาเงาะที่<br />

17

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!