08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

แม้ความไม่เท่าเทียมกันของรายได้จะเพิ่มขึ้นก็ตาม<br />

กองทัพและพันธมิตรผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจกลับ<br />

คืนสู่อำนาจในช่วงสั้นๆ ระหว่าง พ.ศ. 2534 - 2535<br />

โดยมีนายอานันท์ ปันยารชุนขึ้นมาเป็นผู้นำรัฐบาลและ<br />

เสนอให้มีการปฏิรูปเศรษฐกิจทั้งหมด โดยนำภาษีมูลค่า<br />

เพิ่มมาใช้ และเปิดเสรีเศรษฐกิจในหลายภาคส่วน ตั้งแต่<br />

เรื่องของภาษีจนถึงอัตราภาษีศุลกากร รวมถึงเขต<br />

เศรษฐกิจเสรีอาเซียน เรียกได้ว่านี่เป็นยุครุ่งเรืองที่สุด<br />

ของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ หลังจากนั้นอิทธิพลของพวกเขา<br />

ก็ลดลงอย่างต่อเนื่อง (ใน พ.ศ. 2549 - 2550 มีอีกหนึ่ง<br />

รัฐบาลลูกผสมระหว่างกองทัพและผู้เชี่ยวชาญรุ่นหลัง<br />

เกิดขึ้น แต่มีอิทธิพลน้อยกว่ารัฐบาลของนายอานันท์<br />

ซึ่งเราจะอธิบายต่อไปในภายหลัง)<br />

หลังจากหมดยุครัฐบาลนายอานันท์เข้าสู่การกลับ<br />

คืนของระบอบรัฐสภา ประเทศไทยกลับมาเติบโต<br />

อีกครั้งในอัตราที่สูงขึ้นกว่าเดิม จนกระทั่งเข้าสู่ช่วง<br />

ฟองสบู่ก่อนวิกฤติเศรษฐกิจ<br />

1.2 วิกฤติ พ.ศ. 2539 - 2540<br />

นโยบายต่างๆ ที่นำไปสู่ฟองสบู่ ตามด้วยการล่ม<br />

of the economy. Thailand moved from being a primary goods<br />

exporter to an exporter of manufactured goods. The level of<br />

poverty declined steadily and significantly throughout the<br />

period, despite a marked increase in income inequality.<br />

There was a brief period when the military and their<br />

technocratic allies returned to power in 1991–1992, when<br />

the technocrats, in charge of the government headed by<br />

Anand Panyarachun, proposed a whole slew of reform<br />

legislation, most notably introducing a value-added tax,<br />

and generally liberalizing the economy in very many areas,<br />

ranging from taxis to tariffs, and launching the Association<br />

of Southeast Asian Nations (ASEAN) Free Trade<br />

Area. In a sense, this period marked the technocrats’ high<br />

point. Afterward, their influence declined steadily. (In<br />

2006–2007, there was another bout of military-technocrat<br />

government with a later generation of technocrats, but<br />

their impact was less than the Anand government’s, as<br />

will be discussed below.)<br />

After the departure of the Anand government and the<br />

return of a parliamentary regime, growth resumed, and<br />

สลายของค่าเงินบาท จนทำให้ระบบเศรษฐกิจทั้งหมด<br />

ของประเทศเกือบจะพังพินาศตามไปนั้น มีการอธิบาย<br />

โดยละเอียดอยู่แล้ว (วอรร์ 2005; น.3-104) ดังนั้น<br />

เราจะสรุปเพียงคร่าวๆ<br />

ความผิดพลาดหลักคือนโยบายที่ปล่อยให้มี<br />

การเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีโดยยังคงอัตราแลก<br />

เปลี่ยนคงที่เอาไว้ นอกจากจะยกเลิกการตรึงอัตรา<br />

ดอกเบี้ยแล้ว ธนาคารพาณิชย์ยังได้รับอนุญาตให้เปิด<br />

กิจการวิเทศธนกิจของตนเองเพื่อลดค่าใช้จ่ายในการกู้<br />

เงินจากต่างประเทศ เมื่อผู้ประกอบการไทยเห็นว่าอัตรา<br />

ดอกเบี้ยจากต่างประเทศถูกกว่ามาก บริษัทใหญ่ๆ<br />

จึงพากันไปกู้เงินจากต่างประเทศโดยตรง หรือบาง<br />

บริษัทก็กู้ผ่านกิจการวิเทศธนกิจของธนาคารในประเทศ<br />

เงินกู้ส่วนใหญ่ถูกนำไปใช้ในภาคอสังหาริมทรัพย์ ก่อ<br />

ให้เกิดฟองสบู่จำนวนมากในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์<br />

และตลาดหุ้น เมื่อถึง พ.ศ. 2539 หนี้ต่างประเทศของ<br />

ไทยพุ่งขึ้นสูงถึง 109,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในจำนวน<br />

นั้น 92,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐเกิดจากภาคเอกชนโดย<br />

แบ่งเป็นเป็นหนี้จากธนาคารพาณิชย์และธุรกิจที่ไม่ใช่<br />

ธนาคารอย่างละครึ่ง<br />

indeed accelerated, until it merged into the precrisis bubble.<br />

1.2 The crisis of 1996 –1997<br />

The series of policy decisions that eventually led to<br />

the bubble and then the collapse of the baht and of almost<br />

the entire Thai financial system is well documented (Warr,<br />

2005; pp. 3 –104), so only a summary account will be<br />

given here.<br />

The key policy misstep was to liberalize the capital<br />

account without giving up the fixed exchange rate regime.<br />

Not only were the controls on interest rates lifted, but<br />

the banks were allowed to open their own International<br />

Banking Facility whose main effect was to reduce the<br />

transaction costs of borrowing abroad. Thai firms, seeing<br />

a substantial difference between domestic and international<br />

interest rates, began to borrow dollars heavily either<br />

directly overseas (if they were big firms), or alternatively<br />

from the local banks through the Bangkok International<br />

Banking Facility. A significant proportion of these loans<br />

were invested in the local property market, and bubbles<br />

99

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!