08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

สถาปนาแนวอุดมการณ์ของกษัตริย์สมบูรณาญาสิทธิราชย์<br />

ขึ้นใหม่ ในจารึกวัดพระเชตุพนได้กล่าวถึงพระบาทสมเด็จ<br />

พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชในฐานะธรรมิกราชา<br />

และพระโพธิสัตว์ นอกจากนี้แล้วหนังสือไตรภูมิโลก<br />

วินิจฉยกถา ฉบับที่ 2 (ไตรภูมิฉบับหลวง) ซึ่งเรียบเรียงขึ้น<br />

โดยพระยาธรรมปรีชา (แก้ว) เมื่อ พ.ศ. 2345 ก็ได้<br />

อธิบายว่า ประถมกษัตริย์ของโลกนั้นทรงเป็นพระบรม<br />

โพธิสัตว์ที่ทรงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์<br />

โดยมหาชน หรือทรงเป็น “พระมหาสมมุติ” 1 (ในทำนอง<br />

เดียวกันกับพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก<br />

มหาราช)<br />

การที่รัชกาลที่ 1 ทรงนิยามบทบาทของกษัตริยภาพ<br />

(Kingship) ในสมัยรัตนโกสินทร์ให้มีสถานะเป็น<br />

“ธรรมิกราชา” และพระโพธิสัตว์นั้นที่จริงแล้วก็คือการ<br />

กำหนดหน้าที่ของพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีให้<br />

เป็นผู้ปกป้องและทำนุบำรุงพุทธศาสนา รวมทั้งการ<br />

บำบัดทุกข์บำรุงสุขแก่ราษฎร ทั้งยังทรงถือว่าพุทธศาสนา<br />

เป็นคุณค่าทางวัฒนธรรมของคนไทยที่มีความสำคัญ<br />

ที่สุด และได้ทรงลดความสำคัญของศาสนาพราหมณ์ลง<br />

โดยได้ทรงมีพระบรมราชโองการห้ามมิให้มีการบูชา<br />

ศิวลึงค์อีกต่อไป<br />

การสร้างบ้านแปงเมือง<br />

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช<br />

ทรงมีพระราชประสงค์ที่จะสร้างกรุงรัตนโกสินทร์ให้มี<br />

ลักษณะที่คล้ายคลึงกับกรุงศรีอยุธยา การวางตำแหน่ง<br />

ของพระบรมมหาราชวังทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำ<br />

เจ้าพระยาก็อยู่ในตำแหน่งเดียวกันกับการวางตำแหน่ง<br />

ของพระราชวังในสมัยอยุธยา ส่วนการสร้างอาคารกลุ่ม<br />

แรกนั้นมีลักษณะเป็นอาคารชั่วคราวสร้างด้วยโครงสร้างไม้<br />

หลังคามุงจาก ซึ่งเป็นกลุ่มอาคารที่สร้างขึ้นระหว่าง<br />

เดือนเมษายน พ.ศ. 2325 - พฤษภาคม พ.ศ. 2325<br />

พระที่นั่งอมรินทราภิเษกมหาปราสาท ซึ่งเป็น<br />

พระที่นั่งหลังคาทรงมณฑปและเป็นสัญลักษณ์ของ<br />

พระมหากษัตริย์นั้น เป็นพระที่นั่งองค์แรกก่อสร้างด้วย<br />

โครงสร้างไม้ทั้งหลังเมื่อ พ.ศ. 2326 ตามแบบพระที่นั่ง<br />

สรรเพชญปราสาทที่อยุธยา แต่เกิดไฟไหม้เสียหาย<br />

ทั้งหลังใน พ.ศ. 2332 พระที่นั่งองค์ใหม่ที่สร้างขึ้นแทนที่<br />

คือ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ซึ่งเป็นพระที่นั่งหลังคา<br />

ทรงมณฑปหลังแรกในพระบรมมหาราชวังที่มีโครงสร้าง<br />

ก่ออิฐถือปูน (Masonry) อาคารที่สร้างขึ้นตามแบบอยุธยา<br />

at Tha Din Daeng where, within three days of battle, their<br />

stronghold was promptly destroyed by the Siamese. This<br />

was an important victory for Siam and from 1785 until<br />

the end of Rama I, the political situation in the kingdom<br />

became calm and peaceful enough to establish a proper<br />

settlement for the people to inhabit and earn their living.<br />

Phra Maha Dharmika Raja (The Almighty and<br />

Righteous King)<br />

Apart from founding the House of Chakri and the new<br />

capital of Krung Rattanakosin, King Rama I also instituted<br />

the new Rattanakosin Kingship ideology. Reference to this<br />

ideology could be found on the stone inscription at Wat<br />

Phra Chetuphon or Wat Po (built circa 1788 – 1800) in<br />

which Rama I was portrayed as a Dharmika Raja and a<br />

Bodhisattva (the Forthcoming Buddha). Apart from the<br />

Wat Po inscription, Book Two of the literary writing on<br />

Buddhist Cosmology “Tribhumi Loka Vinijchaya Katha”<br />

(the story of the Three Planes of Existence) authorized by<br />

Rama I and written by Phraya Dharma Preecha in 1802,<br />

also explained that the world’s first king was a Bodhisattva<br />

who was publicly proclaimed “Phra Maha Sammati” 1<br />

(The Omnipotent Lord who was proclaimed King) as was<br />

King Rama I.<br />

Thus the ideology of the Chakri Dynasty pertaining to<br />

Rattanakosin Kingship was unquestionably clear. The king<br />

is to be a righteous person who patronizes and protects<br />

Buddhism in addition to being a Bodhisattva who helps<br />

his subjects to be free of sufferings from Dukkha (suffering<br />

itself). Rama I also forbade Shivalinga or Lingm (Phallic)<br />

worship while Buddhism was given greater importance by<br />

Siamese rulers as being the principal religion and the most<br />

important social value of Siamese society.<br />

Formation of the new capital<br />

In moving the capital city across to the east bank of<br />

the Chao Phraya River, the rulers had the image of the<br />

former glory of Ayutthaya in mind. Military reasons such<br />

as security and defense against further enemy attacks<br />

together with the convenience in using waterways as the<br />

main communication route, were among the major reasons<br />

for selecting Bangkok, which was a small village then,<br />

141

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!