08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

สีหราชเดโช ได้ขอพระราชทานชื่อถนนจาก สมเด็จ<br />

พระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ เมื่อทรงเป็นผู้สำเร็จ<br />

ราชการแทนพระองค์พระพุทธเจ้าหลวงรัชกาลที่ 5<br />

สมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวงพระราชทานชื่อถนนทั้ง<br />

สองว่า สุรวงศ์ และ เดโช<br />

บ่อยครั้งในชีวิต ข้าพเจ้าคิดถึง “บ้านเดโช”<br />

อาจบางทีเพราะบ้านเป็นมากกว่าอิฐกว่าปูนที่สร้าง<br />

บนที่ดินด้วยสถาปัตยกรรมจากมันสมองสถาปนิก<br />

คนจึงรู้สึก “คิดถึงบ้าน” ไม่ว่าจะเป็นคนธรรมดาหรือ<br />

เจ้าฟ้าเจ้าแผ่นดิน ล้นเกล้ารัชกาลที่ห้าทรงพระราช<br />

นิพนธ์ใน ไกลบ้าน เมื่อจากสยาม “บ้าน” ของพระองค์<br />

เสด็จพระราชดำเนินประพาสยุโรปครั้งที่สอง ในพระ<br />

ราชหัตถเลขาฉบับที่ 1 คืนวันที่สองคือ 28 มีนาคม<br />

2450 ตอนหนึ่งว่า<br />

“ตื่น 5 โมงเช้า กินนมและขนมปังกับลูกไม้ รู้สึก<br />

คิดถึงบ้านจนน้ำตาไหลไม่รู้สึกตัว”<br />

ที่จริง แม้จะตระหนักว่า บางครั้งบางหน คนก็<br />

“คิดถึงบ้าน” กันทั ้งนั้น แต่ที่ว่า “คิดถึงบ้าน” นั้นคือ<br />

อย่างไร? และทำไมคนเราจึง “คิดถึงบ้าน”?<br />

Though staying elsewhere now, there are times when<br />

I miss my Decho home.<br />

Perhaps as a result of the fact that a home is more<br />

than a construction with bricks and wood, built on land in<br />

accordance with some architects’ designs, people- both<br />

ordinary and royal, get “homesick” at times.<br />

In King Rama V’s own writing- Klai Barn (Away from<br />

Home), he wrote on the second night during his second<br />

trip to Europe in his letter dated March 28, 1907 that:<br />

“I woke up at 11 a.m., had bread and milk and fruits.<br />

I miss my home so much that tears silently well in my eyes.”<br />

Though people miss their homes at times, but what<br />

exactly is this “homesickness”? And why such feeling<br />

appears?<br />

“HOMESICKNESS”? 1<br />

Once upon a time, feeling “homesick” was considered<br />

a disease. Johannes Hofer did his research on foreign<br />

students, migrant labors, and Swiss mercenary in his<br />

“คิดถึงบ้าน”? 1<br />

ครั้งหนึ่งนานมาแล้ว ความรู้สึก “คิดถึงบ้าน”<br />

ถูกถือว่าเป็นโรคชนิดหนึ่ง Johannes Hofer ศึกษา<br />

นักศึกษาต่างชาติ แรงงานอพยพ และทหารรับจ้าง<br />

ชาวสวิส ในงานเขียน Medical Dissertation of<br />

Nostalgia (1688) เขาโยง “ความคิดถึงบ้าน” เข้ากับ<br />

ความรู้สึก “โหยหาอดีต” และพบว่าคนที่ “คิดถึงบ้าน”<br />

เหล่านี้มีทั้งอาการเจ็บป่วยทางกายอย่างเวียนศีรษะ<br />

คลื่นไส้ เบื่ออาหาร มีไข้สูงควบคู่กับอาการทางจิตอย่าง<br />

ซึมเศร้าที่แยกอดีตออกจากปัจจุบันไม่ได้ แยกเรื่องจริง<br />

ออกจากจินตนาการไม่ได้ ฝรั่งจึงเรียกความรู้สึกนี้ว่า<br />

“homesick”<br />

แต่คนที่ “คิดถึงบ้าน” เป็นคนป่วยแน่หรือ?<br />

หลังเกิดไฟไหม้ป่าครั้งใหญ่ในออสเตรเลีย Helen<br />

Cox และ Colin Holmes ทำงานวิจัย (“Loss, Healing<br />

and the Power of Place”, 2000) พบว่า แม้ผู้คนที่<br />

สูญเสียบ้านและทรัพย์สินไปในกองเพลิงครั้งนั้นจะรู้แต่<br />

แรกว่า พวกเขาอาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยง แต่เมื่อเกิดภัย<br />

พิบัติขึ้น พวกเขากลับรู้สึกเสียดายและเสียใจยิ่งกว่าที่<br />

Medical Dissertation of Nostalgia (1688) by connecting<br />

“homesick” to “nostalgia”, and found that those suffered<br />

from homesickness faced physical sickness which<br />

included dizziness, nauseating with poor appetite, high<br />

fever alongside feeling depressed. They could not separate<br />

the past from the present, nor could they identify facts<br />

from the imaginary. That’s why it has been called “homesick”.<br />

But do those who feel “homesick” really sick?<br />

After the great Australian forest fire, Cox and Holmes<br />

in their research, “Loss, Healing and the Power of Place”<br />

(2000), found that those who lost their houses and properties<br />

in the fire knew from the beginning that they lived in risk<br />

area. But when disaster struck, they felt more about<br />

the loss of trees, and the deaths of animals in the fire than<br />

their material loss. When asked what they would do after<br />

such disaster, not even one family told the researchers<br />

that they would move elsewhere. After the fire, they began<br />

to rebuild their houses and plant the trees. Why is it that<br />

people who knew, and in fact already went through such<br />

55

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!