08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

เป็นที่ที่มาลาเรียยังคงชุกชุม<br />

รัฐบาลได้ลงมือจัดสรรที่รกร้างให้เป็นที่ทำกิน<br />

โครงการ DDT นั้นไล่โรคร้ายมาเลเรียออกไปและช่วย<br />

ลดความอันตรายในพื้นที่ลงไปได้มาก ยิ่งไปกว่านั้น<br />

โครงการตัดถนนของรัฐนั้นช่วยดึงดูดความสนใจให้คน<br />

มาตั้งรกรากทำกินมากขึ้น เพราะการสร้างถนนทำให้<br />

ประชาชนเข้าถึงการค้าขายได้ง่ายขึ้น รัฐบาลยัง<br />

สนับสนุนการรุกป่าอย่างไม่ตั้งใจด้วยการให้สัมปทาน<br />

กับเอกชน โดยทฤษฎีแล้วผู้รับสัมปทานนั้นต้องปลูก<br />

ต้นไม้ทดแทนต้นไม้ที่พวกเขาได้โค่นมันลงไป แต่การ<br />

บังคับใช้นั้นค่อนข้างอ่อนแอ จึงทำให้มีผู้เข้ามาจับจอง<br />

พื้นที่ป่าไม้อย่างรวดเร็ว บางก็เป็นลูกจ้างของผู้ที่ได้รับ<br />

สัมปทานตัดไม้ นอกจากนี้การรุกป่าไม้โดยไม่ได้รับ<br />

สัมปทานก็มีเพิ่มมากขึ้นเช่นกัน<br />

เกษตรกรไทยนั้นไม่ต่างจากเกษตรกรทั่วโลก คือผู้<br />

บุกเบิกที่ดินที่ว่างมานับร้อยปี อย่างไรก็ดีการ<br />

พัฒนาที่ดินในยุคคริสต์ทศวรรษ 1960 (พ.ศ. 2503-<br />

2512) จวบจนถึง ช่วงยุคคริสต์ทศวรรษ 1970<br />

(พ.ศ. 2513-2522) นั้นเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วอย่าง<br />

ไม่เคยมีมาก่อน การเพิ่มของประชากรกดดันให้เกิด<br />

การครอบครองที่ดิน เพิ่มขึ้นถึง 3.1 เปอร์เซ็นต์ ในช่วง<br />

this respect was completely at variance with the practice<br />

on the ground. For example, it stated that any land which<br />

was not occupied was government land. Large parcels<br />

of this supposedly unoccupied land were put under forest<br />

reserves, to be looked after by the Royal Forestry Department,<br />

which had relatively little manpower to look after all<br />

the lands that were put in its charge. Even for those lands<br />

which were not under forest reserves, the issuance of the<br />

titles was proceeding at an extremely slow pace.<br />

Consequently, many farmers (in fact the majority of the<br />

upland crop farmers) were farming on lands which in the<br />

eyes of the law did not belong to them. Owing to the<br />

absence of legal recognition, settlers in many areas had<br />

to seek protection from local strong men, and the basis<br />

was created for a new rural elite. The availability of land<br />

had the potential of creating an egalitarian social order,<br />

but sadly, that opportunity was missed, and it was a<br />

major policy failure of that period.<br />

At that time, this shortcoming was not noticed.<br />

The farmers also did not seem to have been adversely<br />

78<br />

ยุคคริสต์ทศวรรษ 1960 (พ.ศ. 2503 - 2512) ซึ่ง<br />

สูงกว่าสถิติใดที่เคยบันทึกเอาไว้ เครื่องจักรสมัยใหม่<br />

ถูกนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการโค่นป่า ในกรณีนี้<br />

เครื่องจักรนั้นถูกจัดหามาให้โดยผู้รับสัมปทาน<br />

ป่าไม้นั้นเอง หลังจากที่พื้นป่าถูกตัดต้นไม้จนหมดแล้ว<br />

รถแทรคเตอร์ก็มีหน้าที่เข้ามาปรับหน้าดิน ซึ่งแต่ก่อน<br />

ใช้แรงงานสัตว์ ชาวนาจะสามารถปลูกพืชได้ประมาณ<br />

4-5 เฮคเตอร์ (24-30 ไร่) แต่ด้วยแทรคเตอร์นั้น ที่ดิน<br />

ขนาด 10 หรือ 100 เฮคเตอร์ (60-600 ไร่) ก็สามารถ<br />

จัดการได้ (1 เฮคเตอร์ = 10,000 ตารางเมตร หรือ<br />

ประมาณ 6 ไร่ กับ 1 งาน – ษิระ น้อยทิพย์ ผู้แปล)<br />

เมื่อผืนดินนั้นถูกปรับ และเริ่มทำการเกษตรได้<br />

สินค้าเกษตรก็ขายได้โดยไม่ยาก เพราะมีการตัดถนน<br />

เส้นทางใหม่ๆ อย่างมากมายในช่วงยุคคริสต์ทศวรรษ<br />

1960 (พ.ศ. 2503 - 2512) ผลลัพท์ที่ได้คือการเจริญ<br />

เติบโตของการส่งออกพืชผลทางการเกษตรในยุคนั้นเกิด<br />

ไร่อ้อยขึ้นนับร้อยนับพันไร่อย่างต่อเนื่อง พืชอื่นที่นิยม<br />

ปลูกกันในปริมาณมากกลายเป็นสินค้าส่งออกหลักของ<br />

ประเทศ เริ่มจาก ข้าวโพด ปอ ตามมาด้วย มันส ำปะหลัง<br />

เกษตกรไทยเริ่มรับเอาพืชเหล่านี้มาทำการเกษตรตัว<br />

แล้วตัวเล่า ผลิตและส่งออกไปยังตลาดส่งออก ผลจาก<br />

affected, except perhaps in their access to credit. It was<br />

only in the 1980s, as the land frontier was closed, that the<br />

problems created by government negligence began to<br />

assume a larger profile in the political and social agenda.<br />

The most dynamic part of the agricultural sector was<br />

in new upland crops and in rubber. But even in rice, the<br />

traditional crop for Thai farmers, output grew, although in<br />

this case there was also an intensification, particularly in<br />

the Central Plains. In this case, the long history of irrigation<br />

investments going back to the fifth reign was at long last<br />

beginning to pay off. In the first decade of the twentieth<br />

century, the Dutch engineer van der Heide originally<br />

conceived of having a diversion dam across the main<br />

channel of the river, supplemented by one storage dam<br />

further upstream. With the construction of the Chao Phraya<br />

irrigation dam in the early 1950s, and the storage dam at<br />

Yanhee (which now bears His Majesty’s name), van der<br />

Heide’s conception became reality. The lower Chao Phraya<br />

system now has flood prevention capability and<br />

supplemental irrigation during the wet season, as well as

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!