08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

การศึกษาการเปลี่ยนแปลงในทางสังคมศาสตร์จึง<br />

เน้นการเจาะลึกเข้าไปในเรื่องราวของพื้นที่ชีวิตในแง่มุม<br />

ต่างๆ เหล่านั้น เริ่มจากสถานภาพของบุคคล ในด้านการ<br />

ศึกษา ลักษณะครอบครัว การรวมกลุ่ม การเคลื่อนย้าย<br />

และยังเชื่อมโยงถึงสถานภาพทางสังคม ทางเศรษฐกิจ<br />

บทบาทในสังคม รสนิยม การเรียนรู้จากประสบการณ์<br />

และการเรียนรู้รูปแบบบางอย่างในช่วงเวลาหนึ่ง<br />

ในแต่ละช่วงเวลาจะบ่งบอกถึงการเปลี่ยนแปลงสาคัญๆ<br />

บางด้านที ่สามารถส่งผลกระทบต่อชีวิตในด้านอื่นๆ<br />

ตามมาอีกด้วย<br />

ตลอดรัชสมัยอันยาวนานของพระบาทสมเด็จ<br />

พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร<br />

(รัชกาลที่ 9) ถึง 70 ปี (พ.ศ. <strong>2489</strong>-<strong>2559</strong>) จึงประกอบ<br />

ไปด้วยช่วงเวลาของการเปลี่ยนแปลงในมิติต่าง ๆ อย่าง<br />

มากมาย ซึ่งสามารถแยกแยะออกมาได้ 6 ช่วงเวลา<br />

ด้วยกัน จากช่วงที่ 1 (ก่อน พ.ศ. 2500) ถือเป็นยุคที่<br />

ยึดโยงอยู่กับจารีตแบบแผน แล้วก็เปลี่ยนมาสู่ช่วงที่ 2<br />

(พ.ศ. 2500 - 2510) ซึ่งสังคมเริ่มเปลี่ยนเข้าสู่ยุคของ<br />

การนาเข้าความเป็นสมัยใหม่ จากนั้นก็เข้าสู่ช่วงที่ 3<br />

(พ.ศ. 2510 - 2520) สังคมไทยได้เปลี่ยนไปเป็นยุค<br />

สายลมแสงแดด เมื่อผู้คนบางส่วนเริ่มหันกลับมามอง<br />

Epilogue<br />

Social change is like changing of lived space from one<br />

period to another. It spans economic, political and social<br />

dimensions that integrate into interconnected elements.<br />

Lived space consists of all aspects of life. Social life is<br />

linked to economic life including transformation of political<br />

system.<br />

Thus, the study of change in social science focuses<br />

on probing into stories of lived space in various aspects,<br />

starting with individual status, education, family, groupings,<br />

and migration as well as socio-economic status, social<br />

roles, taste, experiential learning and other kinds of learning<br />

in a specific time. Each period indicates some important<br />

changes that can affect other aspects of lives later on.<br />

The long reign of His Majesty King Bhumibol Adulyadej<br />

(Rama IX), which spanned 70 years (1946 - 2016), saw<br />

changes in various dimensions. Six periods were classified.<br />

From the first period (before 1957) which clung to tradition<br />

50<br />

ตัวเอง เพื่อปรับตัวกับให้เข้ากับกระแสที่มาจากภายนอก<br />

จึงต้องใช้จินตนาการในการสร้างสรรค์พื้นที่ชีวิตให้ลงตัว<br />

ตามสภาพความเป็นจริงในขณะนั้น<br />

แต่เป็นที่น่าสังเกตว่าการเปลี่ยนแปลงใน 3 ช่วง<br />

เวลาแรกนั้นสามารถดาเนินไปอย่างต่อเนื่องขณะที่ใน<br />

3 ช่วงเวลาหลังจะเกิดเหตุการณ์สาคัญๆ ที่กระทบต่อ<br />

การเปลี่ยนแปลงหลายอย่าง ซึ่งทาให้สังคมไทยต้อง<br />

เผชิญกับความเสี่ยงในโลกไร้พรมแดนมากขึ้น ขณะที่<br />

ช่องว่างทางสังคมกลับขยายกว้างมากขึ้น จึงมีผลให้<br />

สังคมต้องติดอยู่ในกับดักของความขัดแย้งมากมาย เริ่ม<br />

ตั้งแต่ช่วงที่ 4 (พ.ศ. 2520 - 2530 ) ที่เรียกว่า ยุคโชติช่วง<br />

ชัชวาล ซึ่งผู้คนมีความมั่งคั่งในทางเศรษฐกิจมากขึ้น<br />

จึงต้องการการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วจนผลักดันให้<br />

สังคมไทยในช่วงที่ 5 (พ.ศ. 2530 – 2540) เคลื่อนเข้าสู่<br />

ยุคหลุดจากราก ซึ่งถือเป็นช่วงเปลี่ยนผ่าน ที่พื้นที่ชีวิต<br />

เต็มไปด้วยความเสี่ยงนานัปการ และยังไม่สามารถก้าว<br />

ข้ามไปได้ ในช่วงหลังสุด (หลัง พ.ศ. 2540) สังคมไทย<br />

กลับต้องชะงักงันอยู่กับยุคกับดักความขัดแย้ง เพราะ<br />

ในปัจจุบันนี้ (พ.ศ. 2561) สังคมไทยยังไร้เสรีภาพที่จะ<br />

กาหนดก้าวเดินไปข้างหน้าอย่างอิสระ<br />

to the second period (1957- 1967) when modernism was<br />

imported. During the third period (1967-1977), Thai society<br />

in the sun-and-the wind era saw some groups looking<br />

into themselves and adapting to change that comes from<br />

outside the country. Imagination was needed in creation<br />

of appropriate lived space in the specific context.<br />

Noteworthy in the three former periods was continuity,<br />

whereas in three latter periods, after many major crises,<br />

Thai society faced increasing risks of borderless world<br />

while social gaps widened. This resulted in Thai society<br />

being trapped in many conflicts. Starting with the fourth<br />

period (1977-1987) so called the era of flourishing glory<br />

where people were economically wealthy. Thus, they<br />

wanted rapid changes that pushed Thai society into the<br />

fifth transitional period (1987-1997) of uprootedness where<br />

lived space was full of many risks that cannot overcome<br />

yet. In the last period (after 1997) Thai society is trapped<br />

in conflicts because, at the present (2018), Thai society<br />

are not yet free to choose its future.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!