08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

บันไดเชื่อมต่อกับท้องพระโรง ผนังข้างด้านบนเป็นช่อง<br />

เปิดประดับเสาคลาสสิค เป็นเสาอิงแบบแบน (Pilaster)<br />

ส่วนระเบียงด้านทิศเหนือมีเสาลอยแบบคอรินเธียน<br />

รับชายคา ผนังด้านล่างตกแต่งผนังฉาบปูนเลียนแบบการ<br />

เรียงหินแบบ Rustication มีช่องเปิดตรงกันกับผนังด้านบน<br />

ศาลาไม้ที่สวนแก้วเป็นศาลาทรงดนตรีของสมเด็จฯ<br />

เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทางขึ้นด้านหน้าเป็น<br />

บันไดหินอ่อน ด้านหลังศาลาเป็นผนังทึบมีการตกแต่ง<br />

ด้วยไม้ฉลุลาย ที่พนักลูกกรงและบริเวณชายคาเป็นหลัก<br />

ฐานสำคัญของอาคารไม้ฉลุลายที่ทราบปีที่สร้างและ<br />

ทราบว่าสถาปนิกชาวอิตาเลียนเป็นผู้ออกแบบ<br />

โรงเรียนตะละภัฎศึกษา (วังวรวรรณ) ถนนแพร่งนรา<br />

บริเวณโรงเรียนเคยเป็นส่วนหนึ่งของวังพระเจ้าบรมวงศ์เธอ<br />

กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ซึ่งได้รับพระราชทาน<br />

ที่ให้สร้างวังที่ประทับ 10 ต่อมาในราว พ.ศ. 2435<br />

กรมหมื่นนราธิปประพันธ์พงศ์ ได้ทรงเริ่มประกอบการ<br />

ธุรกิจส่วนพระองค์ ทรงพัฒนาที่ดินโดยการตัดถนน<br />

แพร่งนราเพื่อเชื่อมถนนตะนาวและถนนอัษฎางค์<br />

ทั้งยังได้ทรงสร้างตึกแถวให้เช่าบริเวณทางฝั่งขวาของ<br />

ถนนเมื่อเข้ามาจากถนนตะนาว นอกจากนี้แล้วยังได้<br />

Department of Public Works in 1898 with the Italian engineer,<br />

Carlo Allegri, assigned to be responsible for the<br />

undertaking. It later became the residence of Rama V’s<br />

son, Crown Prince Maha Vajiravudh (future king), from<br />

1902 to 1910, and is presently occupied and maintained<br />

by the Ministry of Foreign Affairs.<br />

Bang Khunphrom Palace: This palace consisted of<br />

two buildings designed by two different architects but are<br />

in harmony with each other through the use of scale and<br />

color. The main building, Tamnak Yai, was the residence<br />

of Prince Paribatra Sukhumbhandhu, a son of Rama<br />

V. Completed construction in 1906, the building was<br />

designed by Mario Tamagno in the Neo-Baroque style.<br />

The outstanding features on the façades of this building<br />

are the ornate stucco moldings that frame the doors and<br />

windows while the front vestibule boasts a marble staircase<br />

that leads up to the second floor. The other building on the<br />

compound is “Tamnak Somdej” which was built adjoining<br />

the main building during the period of Rama VI.<br />

Tha Phra Palace: This palace was the residence<br />

ทรงตั้งคณะละครที่ได้รับความนิยมมาก และทรงสร้าง<br />

“โรงละครปรีดาลัย” ขึ้นในบริเวณวัง ดังนั้นในช่วงปลาย<br />

สมัยรัชกาลที่ 5 บริเวณแพร่งนราจึงเป็นแหล่งบันเทิง<br />

และแหล่งชุมชนที่มีความคึกคัก<br />

พระตำหนักซึ่งเป็นที่ประทับของกรมพระนราธิป<br />

ประพันธ์พงศ์นั้น เป็นตึกผสมไม้ เมื ่อมีการตัดถนน<br />

ผ่ากลางวังทำให้พระตำหนักด้านหนึ่งอยู่ติดกับ<br />

ถนนแพร่งนรา พระตำหนักด้านนี้ชั้นบนเป็นระเบียง<br />

โครงสร้างไม้ ซึ่งมีลวดลายไม้ฉลุที่มีความงดงามแปลกตา<br />

และเป็นโครงสร้างไม้ที่เป็นจุดเด่นของชุมชน<br />

บ้านตึก เป็นบ้านที่ขุนนางชั้นผู้ใหญ่รับสนองพระบรม<br />

ราชโองการในการจัดบ้านเรือนให้เป็นระเบียบและมีความ<br />

ประณีตแบบสถาปัตยกรรมตะวันตกให้เป็นตัวอย่างแก่<br />

ราษฎร ช่วงเวลาเริ่มต้นในการก่อสร้างน่าจะอยู่ในเวลา<br />

ที่ใกล้เคียงกับการก่อสร้างพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท<br />

คือ ราวๆ พ.ศ. 2419 ที่น่าสังเกตคือ บ้านของขุนนาง<br />

ชั้นผู้ใหญ่ที่เป็นผู้มีตำแหน่งสูง หรือมีความใกล้ชิดกับ<br />

พระมหากษัตริย์มักจะเป็นงานออกแบบของสถาปนิก<br />

อาชีพชาวยุโรป เช่น สถาปนิกชาวอิตาเลียน เป็นต้น<br />

บ้านตึกเป็นบ้านที่ก่อสร้างด้วยวัสดุก่อสร้างที่มีความ<br />

of Prince Narisara Nuvadtivongse that was given to him<br />

by Rama V in 1880. Originally, the Thai style building at<br />

the front had already been there from the time of Rama I<br />

when the two new buildings, Tamnak Klang and Tamnak<br />

Phannarai, designed by Joachim Grassi in the Neo-Classic<br />

style, were built in 1880. Tamnak Klang is annexed to the<br />

front building (reception hall) by a staircase, has classical<br />

pilasters on the upper level of the side elevation, and round<br />

Corinthian columns on the north side of the upper balcony<br />

to support the roof overhang. The lower part of the façade<br />

has stucco veneer in the style imitating rusticated stone<br />

bonding pattern, and openings are aligned with those on<br />

the upper part. The music pavilion, constructed of timber<br />

in the adjacent garden, has marble front steps while the<br />

back wall of the pavilion is built of wood. The balustrades<br />

and eaves of the roof are decorated with perforated<br />

sawn-timber work and are important evidence of this style<br />

of ornamentation that can be specifically dated together<br />

with identifying that the designer was a European architect.<br />

Varavarn Palace (Talapat Sueksa School): This was<br />

173

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!