08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

บทความนี้มีจุดประสงค์ที่จะแสดงภาพอย่างกว้างๆ<br />

ของงานสถาปัตยกรรมพักอาศัยในสยามตั้งแต่สมัย<br />

รัชกาลที่ 1 - รัชกาลที่ 8 (พ.ศ. 2325 - <strong>2489</strong>) โดยที่<br />

ในสมัยรัชกาลที่ 1 - รัชกาลที่ 3 (พ.ศ. 2325 - 2394)<br />

หรือสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นนั้น เป็นช่วงเวลาที่สังคม<br />

ไทยยังมีลักษณะเป็นสังคมเชิงประเพณีที่สืบเนื่องอิทธิพล<br />

ทางวัฒนธรรมในทางสถาปัตยกรรมเชิงประเพณีมา<br />

จากสมัยอยุธยา แต่ในสมัยรัชกาลที่ 4 เป็นต้นมา เริ่ม<br />

ปรากฏอิทธิพลของตะวันตกในงานสถาปัตยกรรมพัก<br />

อาศัยในสยาม ดังนั้นจุดประสงค์อีกประการหนึ่งก็คือ<br />

การหาคำอธิบายถึงช่วงเวลาและสาเหตุที่ทำให้สามัญชน<br />

ในสยามปรับวิถีชีวิตจากการอยู่อาศัยในเรือนไทยแบบ<br />

ประเพณี ซึ่งเป็นวัฒนธรรมที่สืบเนื่องมาช้านาน และ<br />

เปลี่ยนมาอยู่บ้านแบบตะวันตก ซึ่งในที่สุดก็พัฒนามา<br />

เป็นวิถีชีวิตของคนไทยในสมัยรัชกาลที่ 9<br />

สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น (ร.1 - ร.3 พ.ศ. 2325 - 2394)<br />

สมัยรัชกาลที่ 1<br />

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช<br />

The aim of this topic is to present a broad view of<br />

the various styles of residential architecture in Siam from<br />

the period of King Rama I to King Rama VIII. While the<br />

Early Rattanakosin period from Rama I to Rama III (1782 -<br />

1851) continued to be influenced by the traditional culture<br />

of Ayutthaya, the period from Rama IV to Rama VIII saw<br />

increasing Western influences following the signing of the<br />

Bowring treaty in 1855. Thus the major concern here is<br />

looking at the time periods and socio-political issues that<br />

led to significant changes in the way of life of the people<br />

and their dwellings - from living in the traditional Thai<br />

house that has developed since the period of Ayutthaya,<br />

to living in western style houses that virtually became an<br />

integral part of Thai people’s westernized way of life by<br />

the time of Rama IX.<br />

EARLY RATTANAKOSIN PERIOD (Rama I – Rama III)<br />

from 1782 – 1851<br />

King Phra Buddha Yodfa Chulaloke (Rama I) founded<br />

ทรงสถาปนาราชวงศ์จักรีขึ้นใน พ.ศ. 2325 และได้ทรง<br />

ย้ายเมืองหลวงจากฝั่งซ้ายของแม่น้ำเจ้าพระยาไปที่<br />

ฝั่งขวาหรือฝั่งตะวันออก และได้พระราชทานนามว่า<br />

“กรุงรัตนโกสินทร์”<br />

อนึ่ง สมัยกรุงธนบุรีนั้นเป็นสมัยแห่งการกู้ชาติ สยาม<br />

ได้ทำสงครามกับภัยคุกคามหลักคือ พม่า ถึง 10 ครั้ง<br />

ในช่วงเวลา 10 ปี ระหว่าง พ.ศ. 2310 - 2319 แต่ใน<br />

สมัยรัตนโกสินทร์นั้นสงครามครั้งสำคัญที่แสดงให้เห็น<br />

ถึงความเข้มแข็งของกองทัพสยามคือ สงคราม 9 ทัพ<br />

กับพม่า ใน พ.ศ. 2328 ตอนต้นรัชกาลที่1 สงครามครั้งนี้<br />

เป็นสงครามที่สยามได้รับชัยชนะ แต่ใน พ.ศ. 2329<br />

พม่าก็ยกทัพใหญ่เข้ามาอีกทางด่านพระเจดีย์สามองค์<br />

และตั้งค่ายอยู่ที่ท่าดินแดงถึงสามสบ แต่กองทัพไทย<br />

ก็ได้เข้าโจมตีค่ายพม่าแตกภายใน 3 วัน นับเป็นชัยชนะ<br />

ที่เด็ดขาด จากนั้นมาจนสิ้นรัชกาลพม่าก็มิได้เข้ามา<br />

รุกรานไทยอีก บ้านเมืองเกิดความสงบสุขเหมาะแก่การ<br />

อยู่อาศัยและการค้าขายทำมาหากินต่างๆ<br />

พระมหาธรรมิกราชา<br />

ในการสถาปนาราชวงศ์จักรีและกรุงรัตนโกสินทร์นั้น<br />

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชได้ทรง<br />

the Chakri Dynasty in 1782 and moved the capital city of<br />

Siam from the west bank of the Chao Phraya River to the<br />

low lying terrain on the east bank. This new capital was<br />

named “Krungthep Maha Nakorn Bavorn Rattanakosin”<br />

or “Krung Rattanakosin”; and although a new capital had<br />

been founded, Burmese invasion remained a major threat to<br />

the kingdom during the beginning of the Rattanakosin era.<br />

Prior to that, following the fall of Ayutthaya in 1767,<br />

a great warrior named Phraya Taksin freed Siam from the<br />

Burmese and was proclaimed King. After his accession,<br />

he moved the Siamese capital from Ayutthaya down to<br />

Thonburi on the west bank of Chao Phraya River. During<br />

the decade between 1767 and 1777 of the Thonburi period,<br />

Siam continued to engage in up to ten wars with Burma.<br />

Then after King Yodfa took to the throne and founded the<br />

new capital on the east bank, the most crucial war with<br />

Burma at the beginning of the Rattanakosin period was the<br />

Nine Armies War in 1782. Siam succeeded in driving the<br />

aggressors back, but only to return a year later through the<br />

Three Pagoda Pass. The Burmese stationed themselves<br />

140

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!