08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

เขียนจดหมายโต้ตอบกับเซอร์จอห์น เบาว์ริ่ง ทูตสหราช<br />

อาณาจักรซึ่งเข้ามาติดต่อกับราชสำนักใน พ.ศ. 2398 ได้ดี<br />

และใน พ.ศ. 2384 เมื่อทรงเป็นแม่ทัพยกทัพไปรบกับ<br />

ญวนที่เมืองบันทายมาศ (ฮาเตียน) นั้นก็ทรงใช้เรือพุทธ<br />

อำนาจซึ่งทรงต่อขึ้นเองเป็นเรือบัญชาการของแม่ทัพ<br />

การค้ากับต่างประเทศนั้นคู่ค้าที่สำคัญที่สุดคือ<br />

ประเทศจีน ส่วนชาวตะวันตกนั้นผู้ที่เข้ามาเจรจาเรื่อง<br />

การไมตรีและการค้าเป็นคนแรกในสมัยรัชกาลที่ 3<br />

คือ Henry Burney (หันตรี บารนี) ซึ่งเป็นทูตสหราช<br />

อาณาจักร และเป็นผู้แทนของบริษัท British East India<br />

ที่ได้เดินทางเข้ามากรุงเทพฯ ใน พ.ศ. 2368 สาระหลัก<br />

ในการเจรจาคือการตกลงเรื่องการอำนวยความสะดวก<br />

ในเรื่องการค้า และการเจรจาปรองดองกันในเรื่อง<br />

อำนาจของไทยเหนือรัฐไทรบุรี (Kedah) โดยที่ Henry<br />

Burney ได้ยื่นบันทึกข้อเรียกร้องในรายละเอียดให้กับ<br />

ไทยในวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2369 หลังจากการ<br />

ยื่นบันทึกได้ 11 วัน รัฐบาลไทยได้ทราบว่าพม่ายอม<br />

แพ้อังกฤษในสงครามอังกฤษ - พม่าครั้งที่หนึ่ง เมื่อวัน<br />

ที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2369 ดังนั้นจึงตกลงที่จะยอม<br />

ลงนามในสัญญาดังกล่าว โดยการลงนามในสนธิสัญญานั้น<br />

Having monitored the situations constantly, Rama<br />

III was fully aware that the balance of political power in<br />

Asia, and Southeast Asia in particular, had shifted. Since<br />

the early years of his reign, it was apparent that the real<br />

threat to Siam was the Western powers and therefore<br />

from the outset, his policy regarding foreign affairs was<br />

one of compromise. However, his attitude changed upon<br />

the realization that allowing these so-called Western<br />

friends to do business in Siam caused more problems<br />

than otherwise, because they began to meddle and<br />

interfered with the work of the Siamese government. In<br />

the last years of his reign, he adopted a sterner and less<br />

cordial attitude towards the Western countries. However,<br />

several educated royals and aristocrats thought that Siam<br />

should still maintain good relations with the West in order<br />

to acquire their knowledge and technology. Amongst these<br />

people were Phra Vajirayana Bhikkhu (subsequently King<br />

Rama IV), Prince Issares Rangsan (later King Pinklao, the<br />

Second King) and Jamuen Vaivoranarth (Chuang Bunnag).<br />

The latter two were particularly interested in steamships.<br />

ทั้งสองฝ่ายได้ร่วมมือกันลงนามเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน<br />

พ.ศ. 2369 นับว่าเป็นสนธิสัญญาฉบับแรกที่ไทยยอม<br />

ทำกับต่างประเทศ<br />

ส่วนพ่อค้าชาวอังกฤษจากสหราชอาณาจักรที่เข้า<br />

มาค้าขายในไทยตั้งแต่ต้นรัชสมัย ร.3 ใน พ.ศ. 2368<br />

คือ นายโรเบิร์ต ฮันเตอร์ (นายหันแตร) ชาวอังกฤษ<br />

เชื้อสายสก๊อต ซึ่งเป็นผู้ที่ได้เข้ามาตั้งร้านค้าอยู่ที่กุฎีจีน<br />

คนไทยเรียก ห้างหันแตร ขายสินค้าจากต่างประเทศ<br />

อันเป็นของแปลกใหม่สำหรับชาวสยาม อาจกล่าวได้ว่า<br />

นายฮันเตอร์เป็นผู้บุกเบิกห้างสรรพสินค้าในกรุงเทพฯ<br />

เป็นคนแรก นายฮันเตอร์ยังได้เป็นผู้ที่นำแฝดสยาม<br />

อิน-จัน ไปแสดงตัวที่สหรัฐอเมริกาจนทำให้แฝดสยาม<br />

มีชื่อเสียงโด่งดังเป็นที่รู้จักกันดีในโลกตะวันตก<br />

นอกจากการเซ็นสัญญาเบอร์นีกับสหราชอาณาจักร<br />

แล้ว ใน พ.ศ. 2476 ประธานาธิบดีแอนดรูว์ แจ๊คสัน<br />

แห่งสหรัฐอเมริกายังได้ส่งนายเอ็ดมันด์ โรเบิร์ตส์ เป็น<br />

ทูตอเมริกันคนแรกมาติดต่อเพื่อเซ็นสัญญามิตรไมตรี<br />

และการค้ากับไทย ซึ่งก็ตกลงกันได้ด้วยดี สหรัฐอเมริกา<br />

ยังได้รับสิทธิให้ตั้งกงสุลได้ถ้าหากมีประเทศใดประเทศ<br />

หนึ่งเข้ามาตั้งกงสุลขึ้นก่อนหน้านั้น<br />

Jamuen Vaivoranarth was the first Siamese to successfully<br />

build a western-style steamer and presented it to the king<br />

who named it “Klaew Klang Samudra”. Prince Issares<br />

Rangsan on the other hand, led an army in 1841 to fight<br />

the Vietnamese in Ha Tian by using the steamer Buddha<br />

Amnart that he built himself, as the command ship. He<br />

was also highly fluent in his use of the English language<br />

and was thus able to correspond proficiently in writing with<br />

Sir John Bowring, the British emissary who later came to<br />

Siam in 1855.<br />

In terms of foreign trade, while Siam’s most important<br />

trading partner was China, the first Westerner on a<br />

mission to discuss amity and trade with Siam was Henry<br />

Burney, the British emissary and representative of British<br />

East India Company who came to Bangkok in 1825. His<br />

priorities were for Siam to facilitate British commercial<br />

companies in their undertakings and negotiate on matters<br />

concerning Kedah which was under the ruling of Siam at<br />

the time. Burney presented the terms to Siam on February<br />

13, 1826, and just eleven days after that, the Siamese<br />

149

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!