08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ของกระเบื้องคอนกรีตโมเนียสูงประมาณ 2 เซนติเมตร<br />

ลอนของกระเบื้องหลังคาแผ่นซีเมนต์ใยหินทำได้ถึง<br />

5 เซนติเมตร ทั้งหมดนี้ช่วยให้กระเบื้องหลังคาใยหิน<br />

ระบายน้ำได้มากขึ้น เร็วขึ้น มีรอยต่อที่ทำให้น้ำรั่วซึม<br />

ลดลงอย่างมาก ส่งผลให้สามารถมุงหลังคาได้ลาดน้อย<br />

ที่สุดเพียง 15 องศา กระเบื้องหลังคาแผ่นซีเมนต์ใยหิน<br />

มีรูปแบบและขนาดของลอนอยู่สามชนิดที่แพร่หลาย<br />

เรียกกันว่า กระเบื้องลอนคู่ กระเบื้องลอนใหญ่ และ<br />

กระเบื้องลอนเล็ก<br />

ข้อดีอีกประการของกระเบื้องลอนซีเมนต์ใยหินนี้ คือ<br />

น้ำหนักที่เบา และความลาดของหลังคาที่ทำได้น้อยลง<br />

ช่วยลดน้ำหนักแผ่นมุงหลังคาและโครงสร้างหลังคา<br />

ลงอย่างมากเมื่อเทียบกับหลังคากระเบื้องคอนกรีต<br />

จึงช่วยประหยัดค่าก่อสร้างได้มาก กระเบื้องหลังคา<br />

ชนิดนี้เริ่มมีใช้ในประเทศไทยอย่างแพร่หลายเมื่อ บริษัท<br />

กระเบื้องกระดาษไทย จำกัด ในเครือบริษัท ปูนซีเมนต์ไทย<br />

จำกัด สร้างโรงงานผลิตกระเบื้องกระดาษแผ่นเรียบ<br />

และแผ่นลอนสำหรับมุงหลังคา ในราวต้นทศวรรษของ<br />

พ.ศ. 2490 การผลิตกระเบื้องหลังคาแผ่นซีเมนต์ใยหิน<br />

ในประเทศไทยได้เองนี้ ช่วยทำให้กระเบื้องหลังชนิดนี้<br />

wider than that of concrete tile roof. While the ridges<br />

of a Monier concrete tile were 2 cm high, those of a<br />

corrugated asbestos fibre-reinforced cement tile could<br />

reach 5 cm high. All these qualities helped quicken<br />

the drainage of rainwater and avoid leaks by reducing<br />

a lot of gaps between tiles. As a result, the roof pitch<br />

now could reach as low as 15 degrees. These<br />

corrugated asbestos fibre-reinforced cement tiles<br />

were catagorised by the ridge types; double<br />

corrugated tile, big corrugated tile, and small<br />

corrugated tile.<br />

In addition, these lightweight corrugated<br />

fibre-reinforced cement tiles and the low pitch roof<br />

had a huge effect on the weight reduction of the<br />

roofing sheets and the structures, which saved a lot<br />

of construction costs. In Thailand, this type of tiles<br />

became famous when the Siam Fiber-Cement Co.<br />

Ltd., member of the SCG Group opened their factories<br />

to manufacture the flat paper tiles as well as the<br />

ที่มีคุณภาพดีกว่า ราคาถูกกว่าการมุงหลังคาด้วยวัสดุ<br />

ชนิดอื่นๆ เข้ามาแทนที่กระเบื้องคอนกรีตวิบูลย์ศรีที่<br />

หายไปจากความนิยมในที่สุด<br />

รูปแบบของบ้านพักอาศัยที่เน้นรูปทรงหลังคา<br />

ลาดน้อย และใช้กระเบื้องกระดาษชนิดลอนเป็น<br />

วัสดุมุงตามที่กล่าวข้างต้น ได้รับความนิยมแพร่หลาย<br />

อยู่ค่อนข้างยาวนาน และต่อเนื่องมาจนราวทศวรรษของ<br />

พ.ศ. 2520 เมื่ออิทธิพลของสถาปัตยกรรมหลัง<br />

สมัยใหม่ (Postmodern Architecture) จากตะวันตก<br />

เริ่มแพร่หลายเข้ามายังประเทศไทย แนวความคิดของ<br />

สถาปัตยกรรมหลังสมัยใหม่ มีการให้ความสำคัญกับบริบท<br />

ของสถาปัตยกรรม ไม่ว่าจะเป็นที่ตั้ง ชุมชน วัฒนธรรม<br />

และประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง สิ่งเหล่านี้มักถูกละเลย<br />

หรือไม่ก็ถูกต่อต้านจากแนวคิดของสถาปัตยกรรมสมัย<br />

ใหม่ด้วยซ้ำ สถาปัตยกรรมหลังสมัยใหม่เห็นคุณค่าของ<br />

สถาปัตยกรรมในอดีต และต้องการสร้างความสัมพันธ์<br />

กับคุณค่าเหล่านั้น เริ่มมีการศึกษา ฟื้นฟู และอนุรักษ์<br />

อาคารเก่าที่ทรงคุณค่า เริ่มมีการนำรูปแบบสถาปัตยกรรม<br />

จากอดีตมาประยุกต์ใช้กับอาคารที่สร้างใหม่<br />

กระแสสถาปัตยกรรมหลังสมัยใหม่นี้เกิดขึ้นกับ<br />

corrugated roof tiles in the early 1950s. The ability<br />

to produce this higher quality and cheaper type of<br />

tiles domestically caused Wiboonsri tile’s popularity<br />

to finally subside.<br />

The low-pitched roof houses with corrugated<br />

paper tiles as roofing material remained famous for<br />

quite a long period of time. In the 1970s, the influence<br />

of Postmodern Architecture from the West started to<br />

grow in Thailand. This Postmodern Architecture<br />

concept emphasised on the context of architecture<br />

such as location, community, culture, and related<br />

history. All these things had always been omitted or<br />

even rejected by the concept of Modern Architecture.<br />

Postmodernism valued architecture of the past and<br />

attempted to relate to such values. The study on the<br />

precious vintage buildings including the restoration<br />

and the conservation were initiated. The historical<br />

architectural styles were applied in the construction<br />

of new buildings.<br />

259

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!