08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

จีนในช่วงครึ่งศตวรรษแรก และการเกิดการต่อต้าน<br />

ระหว่างชาวจีน และชาวไทยชาตินิยมที่ทำให้การหลอม<br />

รวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันนั้นเป็นไปได้ยากขึ้น แต่<br />

วิสาหกิจชาวจีนยังคงสะสมความมั่งคั่ง หลักๆ คือการ<br />

ผลิตข้าวและการทำการค้า แม้ว่าจะไม่มีการประมาณ<br />

การที่เป็นตัวเลขที่แน่ชัด แต่ก็มีการส่งเงินทองจำนวน<br />

ไม่น้อยกลับไปยังจีนแผ่นดินใหญ่เช่นกัน<br />

การปิดประเทศของจีนภายหลัง พ.ศ. 2491 และ<br />

การบรรลุข้อตกลงชั่วคราวระหว่างนักการเมืองไทยกับ<br />

วิสาหกิจชาวจีนคือโยกขุมกำลังมาไว้ที่เศรษฐกิจของ<br />

ประเทศไทย ในกระบวนการนั้นมีการตั้งธนาคาร<br />

พาณิชย์ที่ช่วยเน้นให้เกิดการสร้างผลกำไรให้มากขึ้น<br />

ซึ่งผลดีต่อตัวพวกเขา ทำให้เศรษฐกิจโดยรวมของ<br />

ประเทศชาติพลอยได้รับอานิสงส์จากการนี้ด้วยเช่นกัน<br />

เรากำลังพุ่งเป้าความสนใจไปยังการพัฒนาใน<br />

ประเทศไทย และมีบางส่วนที่เกี่ยวกับประเทศจีน แต่<br />

เป็นที่แน่นอนว่าประเทศอื่นๆ ทั่วโลกก็ไม่ได้หยุดนิ่ง<br />

เช่นกัน นี่คือสิ่งที่เศรษฐกิจไทยเพิ่งได้รู้จักกับคำว่า<br />

“โลกาภิวัฒน์” ของเศรษฐกิจโลก เราใช้คำๆ นี้เพื่อ<br />

อธิบายถึงการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว แต่<br />

แท้จริงแล้วประเทศไทยได้เข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของ<br />

to the poor. If we define the poor as those receiving less<br />

income than is needed to maintain adequate nutrition,<br />

then the poor have been reduced from 57 per cent of the<br />

population, or 15 million persons, in 1963 to 25 per cent<br />

of the population, or 13.8 million persons in, 1988. The<br />

fall in the number of people who are poor would have been<br />

more dramatic had the trend not been interrupted and<br />

indeed reversed in the first half of the 1980s – the number<br />

of poor in fact stood at 10 million in 1980. Since 1985,<br />

the downward trend in the number of poor has continued.<br />

It is difficult to imagine how the decline in poverty would<br />

have taken place without economic growth.<br />

It is not only in terms of incomes that people have<br />

become better off. The physical quality of life has also<br />

improved. Not only has infant mortality declined, but the<br />

picture holds true of health care generally. Without the<br />

scourge of AIDS, the picture would be even more triumphant.<br />

True, the wonders of Western medicine sometimes come<br />

at a heavy price, but the rural poor at least have the option<br />

of paying that price to buy good health. Their situation is<br />

เศรษฐกิจโลกตั้งแต่เราได้เซ็นสนธิสัญญา เบาว์ริ่ง เมื่อ<br />

พ.ศ. 2398 ซึ่งจำกัดภาษีนำเข้าสินค้าทั่วไปลงเหลือ 3<br />

เปอร์เซ็นต์ โดยใช้วิธีการประเมินพิกัด และ ล่าสุดคือ<br />

5 เปอร์เซ็นต์ กฎหมายนี้ยังคงบังคับใช้จนถึง พ.ศ. 2478<br />

เมื่อเราเป็นอิสระในการทำงบประมาณรายจ่ายได้<br />

เองแล้ว การเปิดประเทศแค่ไหนถึงจะพอ? แต่ก็เคยมี<br />

อยู่ครั้งหนึ่งที่มีการถกเถียงกันว่าการเปิดประเทศไม่ได้<br />

มีผลต่อภาคอุตสาหกรรมซึ่งเป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ<br />

ไทยให้มีความก้าวหน้าในระบบอุตสาหกรรมและจาก<br />

การเจริญเติบโตของประเทศได้<br />

สิ่งที่ได้กล่าวมานี้ไม่ได้หมายถึงว่าเศรษฐกิจโลกไม่<br />

ได้มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย ผลกระทบนั้นเริ่มเห็น<br />

ผลในวงกว้างเมื่อเทคโนโลยีนั้นกลายเป็นสิ่งที่เข้าถึงได้<br />

ในกรณีนี้ดูจะกลับกันที่ผู้ประกอบการไทยนั้นสามารถ<br />

ดึงเอา “เทคโนโลยีล่าสุด” ที่เรียงรายรอไว้ให้เลือกใช้<br />

แต่ในการได้มาซึ่งเทคโนโลยีนั้นต้องอาศัยทักษะและ<br />

ความรู้ในการใช้งานของผู้จัดการ และแรงงานในสถาน<br />

ประกอบการอุตสาหกรรมของไทยด้วย อย่างน้อยก็ต้อง<br />

ไม่ลืมว่าเกษตรกรไทยใช้รถแทรคเตอร์และรถนวดข้าว<br />

เช่นเดียวกัน ถ้าปราศจากการลงทุนในการสร้างโรงเรียน<br />

และมหาวิทยาลัยในยุคนี้แล้ว การได้มาซึ่งเทคโนโลยีนั้น<br />

of course not a pretty one, but compare this to the situation<br />

of a hundred years ago, when even princes and princesses<br />

could not be prevented from dying of cholera. Measured<br />

against this, the sheer availability of that option, however<br />

expensive, should not be sneezed at.<br />

The AIDS problem of course is a standing indictment<br />

of the type of economic system that we have developed.<br />

It is hard to imagine its spread without the rampant<br />

prostitution that we now have, and there are grounds to<br />

believe that the prostitution is itself a consequence partly<br />

of the unequal distribution of income that has accompanied<br />

our growth. But before we go on to attribute all the blame<br />

to economic growth, let us remind ourselves that Central<br />

Africa is also experiencing rampant AIDS (also propagated<br />

through the sex industry) without experiencing much in<br />

the way of economic growth.<br />

Other than health care, the provision of public services<br />

to the rural population has continued apace. The 1960s<br />

and the 1970s saw the extension of the road network, the<br />

1980s of electricity and the the 1990s of household water<br />

91

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!