08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

แบบตะวันตกเข้ามาแทนที่ประเพณีดั้งเดิมของไทย<br />

อย่างกะทันหัน และแสดงถึงพระราชอำนาจอย่างเต็มที่<br />

ต่อมาใน พ.ศ. 2417 คือเพียงหนึ่งปีหลังจากงาน<br />

พระราชพิธีดังกล่าวก็ทรงเริ่มงานที่สำคัญมากคือ การตั้ง<br />

หอรัษฎากรพิพัฒน์ เพื่อจัดระเบียบการเงินและการคลัง<br />

ของแผ่นดิน และหอรัษฎากรพิพัฒน์นี้เป็นหน่วยราชการ<br />

แรกของประเทศไทยที่มีสถานที่ทำงาน มีเจ้าหน้าที่นั่ง<br />

ประจำทำงานเต็มเวลา แล้วก็มีการพระราชทานเงินเดือน<br />

แทนเบี้ยหวัดรายปีให้แก่ข้าราชการ งานปฏิรูประดับ<br />

พลิกแผ่นดินอีกงานหนึ่งของรัชกาลที่ 5 คือ การปฏิรูป<br />

ระบบบริหารราชการแผ่นดินใน พ.ศ. 2435 ซึ่งเป็นการ<br />

เปลี่ยนแปลงจากระบบจตุสดมภ์ ซึ่งใช้กันมาหลายร้อยปี<br />

ตั้งแต่สมัยอยุธยามาเป็นระบบกระทรวง ทบวง กรม<br />

ที่ใช้กันอยู่ในอารยประเทศ ทางด้านสังคมนั้นการปฏิรูป<br />

ที่สำคัญคือ การเลิกทาสและการเลิกไพร่ ซึ่งเป็นพระราช<br />

กรณียกิจที่ใช้เวลาหลายสิบปี แต่มีคุณต่อราษฎรอย่างยิ่ง<br />

เพราะเท่ากับเป็นการเปิดประตูไปสู่ความเท่าเทียมกัน<br />

ของบุคคลในสังคมไทย โดยเฉพาะการเลิกไพร่นั้น<br />

เป็นการส่งเสริมให้ราษฎรได้มีเวลาทำมาหากินได้เต็มที่<br />

และมีฐานะทางเศรษฐกิจที่ดีขึ้น<br />

revolved around diplomacy and balancing the power of<br />

Western nations that were beginning to have increasing<br />

control in the region, along with modernizing and reforming<br />

the country in all aspects such as governing system,<br />

economy, society, communication, education, justice<br />

system, culture and tradition, to name but a few. As an<br />

example of reform in tradition, during his second coronation<br />

ceremony in 1873, Rama V commanded for the first time<br />

in history that all those prostrating themselves in audience<br />

before him were to rise and stand instead. This was an<br />

unprecedented introduction of a western style custom to<br />

replace the traditional one and demonstrated the king’s<br />

stance regarding righteousness. In the following year,<br />

he initiated an important task of setting up the Revenue<br />

Department to regulate the country’s fiscal and financial<br />

system. This was the first governmental agency to have<br />

its own establishment and full-time salaried employees.<br />

In 1892, another major reform took place concerning<br />

the country’s administration system from that of the<br />

Chatusadom (the four pillars) system that had been in<br />

สำหรับการปฏิรูปการศึกษานั้นได้ทรงริเริ่มให้มีการ<br />

จัดการศึกษาอย่างเป็นระบบขึ้นเป็นครั้งแรก ตั้งแต่ระดับ<br />

พื้นฐานกระทั่งระดับอุดมศึกษา เช่น การตั้งโรงเรียน<br />

พระตำหนักสวนกุหลาบขึ้นในบริเวณพระบรมมหาราชวัง<br />

เพื่อเป็นโรงเรียนสำหรับบุตรหลานเจ้านายและข้าราชการ<br />

ทั้งยังโปรดให้มีการสอบไล่หนังสือขึ้นเป็นครั้งแรกใน<br />

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2428 ส่วนโรงเรียนสำหรับสามัญชน<br />

โรงเรียนแรกนั้นคือ โรงเรียนวัดมหรรณพาราม ตั้งขึ้น<br />

เมื่อ พ.ศ. 2441 ต่อมาได้โปรดให้ตั้งโรงเรียนมหาดเล็กขึ้น<br />

ใน พ.ศ. 2442 เพื่ออบรมลูกขุนนางและลูกผู ้ดีมีตระกูล<br />

ไว้เป็นมหาดเล็กรับใช้ในราชการ โรงเรียนมหาดเล็กนี้<br />

ต่อมาก็ได้พัฒนาเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในที่สุด<br />

นอกจากนี้แล้วทางราชการยังได้ส่งนักเรียนทุนไปศึกษา<br />

ยังประเทศต่างๆ ในยุโรปเป็นจำนวนถึง 206 คน<br />

การคมนาคม<br />

พัฒนาการด้านการคมนาคมระหว่างประเทศที่สำคัญ<br />

คือการสร้างคลองสุเอชในประเทศอียิปต์ระหว่าง พ.ศ.<br />

2402 - 2412 คลองดังกล่าวเริ่มเปิดใช้เมื่อ พ.ศ. 2412<br />

และเป็นผลให้เส้นทางการเดินเรือติดต่อระหว่างประเทศ<br />

ต่างๆ ทางตะวันตกกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีระยะ<br />

practice for centuries since the period of Ayutthaya, to<br />

that of ministries, bureaus and departments as commonly<br />

practiced in developed countries.<br />

With regards to socio-political reform, the most<br />

revolutionary change was the abolition of slavery and the<br />

corvée system. Although the process took many decades<br />

to fully transform, it was a greatly significant milestone<br />

and paved the way towards social equality for the people<br />

of Siam. The abolition of the corvée system in particular,<br />

enabled people to work and earn their living more fully in<br />

order to improve their economic status.<br />

In terms of education, Rama V advocated a more<br />

organized system of education, commencing initially at<br />

the primary level and then later on to tertiary level, for the<br />

first time in the kingdom. Phra Tamnak Suan Kularb School<br />

for example, was set up in the royal palace compound to<br />

educate the royal children and those of the nobles and<br />

officials of the royal court. Thus in 1885, the pupils were<br />

required for the first time in Siam, to sit final examinations.<br />

As for commoners, the first school to be set up was<br />

163

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!