08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ภูมิอากาศในประเทศตะวันตก<br />

ชาวตะวันตกเมื่อเข้ามาติดต่อทำการค้าและเผยแผ่<br />

ศาสนาคริสต์ในประเทศไทยมากขึ้นได้เริ่มตั้งรกราก<br />

พำนักอาศัยในประเทศไทย เมื่อเริ่มแรกชาวตะวันตก<br />

เหล่านี้ได้สร้างบ้านอยู่อาศัยตามแบบแผนบ้านเรือน<br />

ตะวันตกอย่างที่พวกเขาเคยอยู่มา บ้านเรือนมีลักษณะ<br />

กระชับ ไม่แยกห้องเป็นเรือนเล็กๆ หลายๆ หลังแบบ<br />

เรือนพื้นถิ่นไทย เพราะมาจากประเทศที่ภูมิอากาศหนาว<br />

เย็นกว่า ไม่ต้องการการระบายอากาศระหว่างห้องหับ<br />

และเรือน บ้านเรือนตะวันตกมีพื้นที่ใช้สอยตั้งแต่ชั้น<br />

ล่างติดพื้นดิน ไม่ได้ยกเรือนขึ้นสูงให้มีใต้ถุนโล่ง เพราะ<br />

ไม่ต้องป้องกันน้ำท่วมในฤดูฝนและน้ำหลากเช่นในไทย<br />

นอกจากนั้นชายคาบ้านพักอาศัยของชาวตะวันตกยังไม่ยื่น<br />

ยาวเพื่อป้องกันแดดที่ร้อนแรงอย่างเรือนไทย เพราะเขา<br />

ต้องการแสงแดดส่องเข้าภายในบ้านเพื่อเพิ่มความอบอุ่น<br />

หากเมื่อสร้างบ้านเรือนตามแบบแผนเช่นว่าในไทย<br />

ได้ไม่นาน ชาวตะวันตกก็พบปัญหาความร้อนที่แรงกล้า<br />

จากแสงแดดและฝนที่สาดกระหน่ำเข้าในเรือน พวกเขา<br />

จึงดัดแปลงบ้านให้มีระเบียงหรือทางเดินรอบบ้านที่อยู่<br />

ภายใต้หลังคา แทนการยื่นชายคาอย่างเรือนไทย เพื่อ<br />

residential halls and houses of royals, nobles and<br />

elites who preferred the styles of western residences.<br />

At this point, westernised buildings were slightly<br />

altered from the original western styles to correspond<br />

with tropical climate in Thailand.<br />

After more western people had arrived for trading<br />

and spreading Christianity, they began to settle down<br />

in Thailand. At first, their houses were built in pure<br />

western styles. Unlike a traditional Thai residence<br />

which was a compound of small houses, a western<br />

house was compact under one roof. Since the weather<br />

was colder in the West, the air ventilation was not<br />

the priority. Normally, the utility space in western<br />

houses started from ground floor while in traditional<br />

Thai house, floor was elevated to prevent high water<br />

level and flood in rainy season. In addition, the eaves<br />

of western houses were shorter because sunlight was<br />

needed to keep the house warm.<br />

Soon after building the genuine western house in<br />

ปกป้องแสงแดดมิให้ส่องถึงห้องภายในโดยตรง หลังคา<br />

ยังคงยื่นชายคาเพียงเล็กน้อยอย่างเรือนตะวันตก<br />

เพียงเพื่อให้น้ำฝนหยดไม่ไหลย้อยลงตามผนังเรือน<br />

จากนั้นได้เติมหน้าต่างบานเปิด ลูกฟักบานเกล็ดไม้<br />

หุ้มราวระเบียงและส่วนที่อยู่เหนือราวระเบียงจากด้านนอก<br />

เพื่อป้องกันฝนสาด และช่วยระบายอากาศผ่านช่องเกล็ด<br />

หรือทำบานเกล็ดให้เปิดเป็นบานกระทุ้งอีกชั้นหนึ่ง<br />

ในระหว่างที่ฝนตกและมีอากาศอบอ้าว บ้านเรือนแบบ<br />

ตะวันตกที่มีการปรับเปลี่ยนให้เข้ากับภูมิอากาศร้อนชื้น<br />

ของไทยตามลักษณะนี้ กลายเป็นแบบแผนของ<br />

สถาปัตยกรรมแบบโคโลเนียล (Colonial architecture)<br />

หรือสถาปัตยกรรมอาณานิคมในเขตร้อนชื้น รูปแบบ<br />

เรือนพักอาศัยที่มีการปรับเปลี่ยนแล้วนี้ต่อมาเป็นที่<br />

นิยมแพร่หลายในหมู่เจ้านายและชนชั้นสูงของไทย<br />

ในสมัยรัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7 ที่เริ่มสร้างตำหนัก<br />

และบ้านเรือนตามอย่างชาวตะวันตก<br />

การปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดผังอาคารและลักษณะ<br />

ช่องเปิดของบ้านเรือนสไตล์โคโลเนียลนี้มาพร้อมการ<br />

เปลี่ยนวัสดุมุงหลังคาอีกครั้ง กระเบื้องอีเทอร์นิตตาม<br />

แบบที่ช่างฝรั่งใช้กับพระราชวัง และวังในยุคก่อนหน้าต้อง<br />

Thailand, western people had to confront the heat<br />

problem from the blistering sunlight and the heavy<br />

rain. Therefore, to avoid direct sunlight, indoor patios<br />

or corridors around the house were designed to work<br />

as Ruean Thai’s long eaves. The roof still consisted<br />

of original western style short eaves just to keep<br />

rainwater off the walls. Then, window shutters with<br />

louvers were installed over the external corridor rails<br />

to block the rain while allowing the air to ventilate.<br />

The louvers were also made into awning windows to<br />

prevent rain and heat. These tropically adapted<br />

western style buildings became the signature of<br />

Colonial architecture or Tropical Colonial architecture.<br />

Later in the reigns of King Rama VI and King Rama<br />

VII, this hybrid architecture gained popularity among<br />

Siamese royals and elites as they began to have their<br />

residential halls and houses built in western styles.<br />

Alternation of the floor plans and openings of the<br />

Colonial style buildings led to another change of<br />

254

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!