08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

สถานะผันผวนอย่างหนัก ภาวะเงินเฟ้อในขณะนั้น<br />

ต้องเผชิญทั้งกับภาวะการถดถอยลงของค่าเงินลงถึง<br />

เจ็ดเท่าเมื่อสิ้นสุดสงคราม ผนวกกับอีกยี่สิบเปอร์เซ็นต์<br />

ในช่วงสองปีแรกหลังจากสงครามสิ้นสุด ซึ่งนับได้ว่าเป็น<br />

ประสบการณ์ที่เลวร้ายที่สุดในประวัติศาสตร์ของระบบ<br />

เศรษฐกิจในประเทศไทย ภาวะเงินเฟ้อที่รุนแรงนั้นยังส่ง<br />

ผลให้ข้าราชการทั้งหลายจำต้องลาออกกันเป็นทิวแถว<br />

เพราะรายได้ของตัวเองกลับไม่ได้เพิ่มตามค่าของ<br />

เงินเฟ้อ ในขณะที่รายได้ของข้าราชการระดับสูงนั้นลด<br />

ลงเพียงแค่ 3 เปอร์เซ็นต์จากเมื่อครั้งก่อนสงคราม<br />

ที่ปรึกษาทางการเงินในขณะนั้นได้บันทึกไว้ว่า<br />

“เดือนพฤษภาคม 1946 ประเทศสยามเริ่มต้นประเทศ<br />

ใหม่จากศูนย์ ในคลังนั้นมีแต่ความว่างเปล่า สินทรัพย์<br />

เพียงอย่างเดียวที่ประเทศมีนั้นคือ สิทธิและอำนาจที่จะ<br />

ซื้อและบริหารเงินตราต่างประเทศ”<br />

ศักยภาพในการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยในขณะ<br />

นั้นขึ้นอยู่กับ “อำนาจที่จะซื้อและบริหารเงินตราต่าง<br />

ประเทศ” ออกผลให้เห็นอย่างรวดเร็ว ทำให้ พ.ศ. 2490<br />

เงินเฟ้อในประเทศนั้นเกือบจะหมดไปแล้ว ทำให้การส่ง<br />

ออกนั้นเริ่มฟื้นตัว ตามด้วยราคาพืชผลทางการเกษตร<br />

evolved later on into an explicit tax called the premium.<br />

This taxation of rice exports had a significance beyond<br />

its immediate impact on government finances, because<br />

it depressed domestic rice prices. It thus became a means<br />

by which the government could subsidize the urban<br />

population, among whom the most important group at that<br />

time were the civil servants. In this way, the devastation<br />

that wartime inflation had brought upon their real incomes<br />

was mitigated, some of the burden being shifted to the<br />

rice farmers instead.<br />

But the stability thus achieved did not last long.<br />

In 1952 there was a misguided attempt to try and revalue<br />

the free market rate of the baht, ostensibly to curb inflation.<br />

It is difficult to rationalize this action, since by that time<br />

the commodity price inflation from the Korean war boom<br />

had changed into a price drop. Oral tradition has it that<br />

the government felt that a higher value of the baht would<br />

be prestigious for the country. If so, this concern for<br />

prestige was in keeping with the notions of economic<br />

nationalism that, apart from massive corruption (on which<br />

more below), were the hallmarks of that period.<br />

66<br />

พุ่งทะยานในช่วงสงครามเกาหลี ปัจจัยที่สร้างจุด<br />

พลิกผันให้ประเทศกลับมาฟื้นตัวได้ดีนั้นคือผลผลิตข้าว<br />

ที่ฟื้นตัวได้อย่างรวดเร็วหลังจากสงคราม<br />

เศรษฐกิจแบบชาตินิยม และ การทุจริตคอรัปชั่น<br />

: การวางพื้นฐาน (พ.ศ. 2490 - 2501)<br />

เสถียรภาพทางเศรษฐกิจได้เริ่มต้นตั้งแต่<br />

พ.ศ. 2490 บนพื้นฐานของอัตราการแลกเปลี่ยนเงิน<br />

ตราต่างประเทศเป็นที่มาของผลกำไรอย่างมหาศาลให้<br />

กับรัฐบาล และอีกด้านหนึ่งกลับเป็นการเก็บภาษีที่แฝง<br />

เร้นจากการส่งออกของสินค้าโภคภัณฑ์โดยเฉพาะข้าว<br />

การเก็บภาษีแฝงเร้นจากการส่งออกข้าวนั้นได้พัฒนา<br />

ในภายหลังเป็นภาษีที่เก็บโดยตรงที่รู้จักกันในชื่อของ<br />

“Premium ข้าว” นโยบายเก็บภาษีส่งออกข้าวนั้นสร้าง<br />

ผลกระทบทางการเงินกับรัฐบาลอย่างหนักในทันที<br />

เพราะมันทำให้ราคาข้าวภายในประเทศนั้นตกต่ำ จึงดู<br />

เหมือนว่ารัฐบาลในขณะนั้นกำลังพยายามที่จะช่วย<br />

เหลือเจือจุนประชาชนคนเมืองซึ่งดูจะเป็นกลุ่มบุคคลที่<br />

สำคัญอันได้แก่ข้าราชการเป็นส่วนใหญ่ ถ้ามองในมุม<br />

Traditionally, Thai economic nationalism was directed<br />

at two different sets of foreigners. The first were the<br />

Europeans and Americans. During the nineteenth century,<br />

their governments concluded a series of agreements with<br />

Thailand which considerably limited the fiscal autonomy<br />

of the Thai state, as well as giving their governments<br />

extraterritorial jurisdiction over their citizens and subjects<br />

residing in Thailand. Well before the Second World War,<br />

however, these unequal treaties had been renegotiated<br />

to everyone’s satisfaction.<br />

The second set of foreigners were of a different kind.<br />

They were the Chinese immigrants and their descendants<br />

who had over the years amassed considerable economic<br />

power. Relations between Thais and Chinese had been<br />

reasonably amicable, and many of the Chinese immigrants<br />

had gradually assimilated into Thai society. Beginning<br />

from about 1910, however, these relations deteriorated,<br />

and the Thai state began to impose greater restrictions<br />

on the many freedoms which they used to enjoy. These<br />

restrictions began under the absolute monarchy, and were<br />

continued, indeed intensified, when the People’s Party

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!