08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ห้องนอน ปลายโถงทางทิศใต้เป็นโถงบันได ที่ด้านสกัด<br />

ทางทิศตะวันออกและทิศตะวันตกของตัวอาคารมีป้อม<br />

ครึ่งวงกลม ซึ่งมีลักษณะเป็นห้าเหลี่ยมคล้ายหอรบยุคกลาง<br />

มีความสูงเท่ากับอาคารชั้นเดียว<br />

การตกแต่งทั้งภายนอกและภายในเป็นไป<br />

อย่างเรียบง่ายไม่เน้นความหรูหรา โครงสร้างชั้นล่าง<br />

เป็นผนังก่ออิฐ 26 ชั้นบนเป็นโครงสร้างไม้แบบ Half<br />

Timber องค์ประกอบที่น่าสนใจภายในตัวอาคารได้แก่<br />

ความประณีตของงานฝีมือช่างไม้ เช่น โครงสร้างบันไดไม้<br />

ขนาดใหญ่ที่โถงบันได ส่วนที่ห้องใต้หลังคา (Attic) มีการ<br />

จัดองค์ประกอบอย่างมีระเบียบคล้ายกับเป็นห้องแสดง<br />

นิทรรศการ โครงสร้างไม้ของหลังคาซึ่งเป็นโครงสร้างไม้<br />

ที่มีลักษณะซับซ้อน แต่มีการแก้ปัญหาและจัดระเบียบ<br />

การวางตัวไม้โครงสร้างอย่างลงตัวและสวยงาม<br />

บ้านพระยาอมเรศร์สมบัติ ซอยสามเสน 3 ถนน<br />

สามเสน กรุงเทพฯ เป็นอาคารแบบตะวันตกสูง 2 ชั้น<br />

แต่ช่วงโถงกลางยกขึ้นเป็น 3 ชั้น มีห้องใต้หลังคา (Attic)<br />

หลังคาทรงปั้นหยาผสมจั่วหัวตัด ก่อสร้างขึ้นราว พ.ศ.<br />

2457 27 โดยช่างจีนจากฮ่องกง<br />

ผังเป็นผัง 3 ส่วน มีลักษณะสมมาตรตามแนวแกนหลัก<br />

Ratchadamri Road Houses: Built along Ratchadamri<br />

Road, there were eight houses altogether. These houses<br />

were under the responsibility of Phraya Burutratana<br />

Rajphanlop who had them built between 1920 and 1924<br />

in compliance with the royal advocacy of Rama VI. The<br />

intention was to build and donate them to Vajiravudh<br />

College so that the school can create income by letting<br />

them out and making earnings from the occupants in<br />

order to maintain and run the school. The two-storeyed<br />

buildings were in simple European style with high pitched<br />

gable roofs. An attractive feature of these buildings was<br />

the three storeys high turret-like structure 29 at the front<br />

corner of each house which undoubtedly, was popular<br />

among the elite at the time. The cost of construction<br />

for all eight buildings, including electricity, water supply,<br />

embankments, roads, lawns and fences, totaled 345,874<br />

Baht and 9 Satangs 30 .<br />

Timber Houses: Timber houses in the period of Rama<br />

VI developed from those of the previous reign. There<br />

were two-storeyed timber houses imitating the masonry<br />

แบบผังคลาสสิค ลักษณะโดยทั่วไปเป็นผังแบบโถงกลาง<br />

มีห้องที่ปีกทั้ง 2 ข้างของโถง ห้องใต้หลังคาทำเป็น<br />

ห้องพระ ผังดั้งเดิมเป็นผังคล้ายตัว U มีมุขหน้า ภายหลัง<br />

มีการต่อเติมเป็นผังแบบสี่เหลี่ยมมีมุขหน้า โครงสร้าง<br />

ผนังรับน้ำหนักก่ออิฐฉาบปูน<br />

สิ่งที่น่าสังเกตก็คือ ผังของบ้านพระยาอมเรศร์สมบัติ<br />

และผังของตำหนักสมเด็จ วังบางขุนพรหมนั้นเป็นผังที่<br />

มีลักษณะคล้ายคลึงกันคือ พัฒนามาจากผังสามส่วน<br />

แบบสี่เหลี่ยมจัตุรัส ซึ่งแสดงว่าผู้ออกแบบนั้นมีพื้นฐาน<br />

ความเข้าใจในเรื่องผังแบบคลาสสิคเป็นอย่างดี28<br />

การจัดระเบียบรูปด้านเป็นไปอย่างเรียบง่าย ให้ความ<br />

สำคัญกับการตกแต่งช่องหน้าต่าง โดยเฉพาะการตกแต่ง<br />

ช่องหน้าต่างชั้นที่ 2 ซึ่งเป็นหน้าต่างที่มีลักษณะคล้ายกับ<br />

หน้าต่างแบบ Palladian Window ประดับลวดลาย<br />

บัวปูนปั ้นรูปเส้นโค้งเหนือช่องหน้าต่าง ส่วนหน้าต่างที่<br />

ชั้น 1 จัดจังหวะล้อ Palladian Window ที่ชั้น 2 แต่บัว<br />

เหนือหน้าต่างเป็นบัวปูนปั้นเน้นตามแนวนอน<br />

องค์ประกอบที่น่าสนใจภายในอาคารได้แก่ งานไม้<br />

ฝีมือช่างจีน เช่น พื้นปาเก้ไม้สลับสีอ่อนแก่ และบันไดไม้<br />

ตลอดจนฝ้าเพดานไม้ตกแต่งด้วยองค์ประกอบบัวไม้<br />

houses, and those that were still elaborately decorated<br />

with sawn-timber work 31 . The new development that took<br />

place was the modified or applied design combining the<br />

local feature of houses raised high above ground with the<br />

arrangement of rooms all under one high pitched roof as in<br />

European houses. The result was a western style house<br />

with Thai appearance that reflected the idea of integrating<br />

Thai identity with western way of life as illustrated by the<br />

Nandikarn House and Phra Dhaneshvara House at Sanam<br />

Chandra Palace, and Tamnak Prathom at Phetchabun Palace,<br />

for example. Houses in this style however, were few and<br />

not so popular among the common people. The planning<br />

of houses in this period cannot be precisely concluded<br />

since it has not been possible to collect sufficient data for<br />

empirical analysis. However, three common characteristics<br />

may be deduced as follows:<br />

1. The plans were based on the three-bay grid system.<br />

2. The functions were arranged in three parts based<br />

on a central space flanked by rooms on two sides.<br />

3. The exterior was surrounded by a veranda, as in<br />

204

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!