08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ผสมกันอันมีส่วนประกอบด้วยลายฉลุอย่างงดงาม<br />

เป็นเรือนที่ปัจจุบันนี้ผู้คนส่วนใหญ่กำลังสนใจ<br />

และศิลปะลวดลายหรูหราเป็นลายแกะสลักและ<br />

ฉลุแบบขนมปังขิง เช่น ตู้และเฟอร์นิเจอร์ กับ<br />

การตกแต่งภายในก็กำลังเป็นที่นิยมแบบแฟชั่น<br />

ย้อนหลังกันอีก...”<br />

จากคำอธิบายดังกล่าวในหนังสือ “แบบแผนบ้าน<br />

เรือนในสยาม” หน้า 27 น่าสังเกตว่า น. ณ ปากน้ำ<br />

เขียนถึงงานสถาปัตยกรรมแบบ “เรือนขนมปังขิง” โดย<br />

วงเล็บภาษาอังกฤษว่า (Ginger Bread) โดยแยกคำว่า<br />

Ginger และ Bread ออกจากกัน ทั้งยังใช้ G ตัวใหญ่<br />

และ B ตัวใหญ่ ในตัวสะกดอีกด้วย คำศัพท์ Ginger<br />

Bread นี้ไม่ปรากฏในพจนานุกรมภาษาอังกฤษ ส่วน<br />

คำที่ถูกต้องคือ “Gingerbread” ซึ่งหมายถึง “ขนมขิง”<br />

การที่เขียนภาษาอังกฤษอย่างไม่ถูกต้องจึงทำให้แปล<br />

คำนิยามศัพท์ว่า “ขนมปังขิง” และด้วยเหตุผลที่หนังสือ<br />

“แบบแผนบ้านเรือนในสยาม” มีความแพร่หลายมากจึง<br />

ทำให้คนไทยคุ้นเคยกับคำว่า “เรือนขนมปังขิง” มาเป็น<br />

เวลานานแทนที่จะเรียกอย่างถูกต้องว่า “เรือนขนมขิง”<br />

term which is derived from the lavishly decorated<br />

traditional western type of dessert with its elaborate<br />

frilly icing, has appeared and was seen in foreign<br />

magazines...”<br />

“In Burma, ten to twenty years ago, houses in<br />

the vicinity of Rangoon airport were predominantly<br />

in the Ginger Bread style whereas in the European<br />

countries, they are now difficult to find. This is due<br />

to the fact that they were mainly built with timber<br />

and decorated with wooden lace-like frills on the<br />

eaves and roof gables which would naturally decay<br />

and deteriorate. A significant number of them have<br />

also been demolished over the period of time, even<br />

in Thailand, to the point that in less than ten years<br />

from now, they will probably all be gone.”<br />

“Whether they are the Manila style or the<br />

Ginger Bread style houses both of which have the<br />

sawn-timber decorations, a lot of people at present<br />

are interested in their fancy carvings and decorative<br />

sawn-timber work in the Ginger Bread style and<br />

อนึ่งในหนังสือ “แบบแผนบ้านเรือนในสยาม” นั้น<br />

น. ณ ปากน้ำ ใช้คำว่า Gingerbread อย่างเจาะจงโดย<br />

หมายความถึง การตกแต่งอาคารด้วยลวดลายฉลุไม้<br />

หรือรูปแบบลวดลายฉลุไม้เท่านั้น แตกต่างจากการ<br />

ใช้คำศัพท์ Gingerbread เกี่ยวกับงานสถาปัตยกรรม<br />

ของคนอเมริกันซึ่งมีความหมายกว้างกว่าคือหมายถึง<br />

การตกแต่งอาคารอย่างหรูหรา หรือฟุ่มเฟือย โดยมิได้<br />

เจาะจงถึงรูปแบบของการตกแต่งประเภทหนึ่งประเภทใด<br />

โดยเฉพาะ<br />

การแพร่หลายของบ้านไม้ฉลุลาย (Gingerbread<br />

House) การแพร่หลายของบ้านไม้ฉลุลายนั้นน่าจะ<br />

เกิดขึ้นจากการที่สามัญชนในระดับกลาง สมัยรัชกาล<br />

ที่ 5 เลียนแบบการปลูกบ้านของชนชั้นสูง เนื่องจาก<br />

ต้องการแสดงตนเป็นคนที่มีความทันสมัยและมีอารยะ<br />

ส่วนต้นแบบนั้นดูเหมือนว่าจะมีความลงตัวอยู่ที่แบบบ้าน<br />

ไม้ฉลุลาย เนื่องจากมีลักษณะเฉพาะตัวที่โดดเด่น มีการ<br />

ตกแต่งด้วยลวดลายฉลุไม้ที่งดงาม ใช้วัสดุธรรมชาติ<br />

พื้นฐานของไทยคือ ไม้ อยู่สบายเพราะคนไทยชินกับไม้<br />

ไม่ขัดต่อความรู้สึก สามารถสร้างองค์ประกอบช่อง<br />

เปิดให้มีอากาศถ่ายเทได้สะดวกได้ดีกว่าโครงสร้างตึก<br />

use it for example, on cupboards and furniture as<br />

well as interior decorations that currently appear<br />

to be back in fashion...”<br />

From the explanation on page 27 of the book (in Thai<br />

language) it is interesting to note that the author used<br />

the term Ginger Bread (spelt in English in parenthesis)<br />

as being two words, both of which have capital letters.<br />

Such terminology cannot be found in the dictionary, as<br />

the correct term should be “gingerbread”. The incorrect<br />

spelling can lead to misunderstanding and, since the book<br />

has been widely sold (with its 6 th printing in 2012), many<br />

Thai people are confused as to the meaning when the<br />

term has been translated into the Thai language. However,<br />

whether it should be translated into Thai (specifically) as<br />

“Khanompang Khing” which is the familiar term, or (broadly)<br />

as “Khanom Khing”, is debatable.<br />

Furthermore, he used the term in connection with<br />

architecture to refer to only the perforated sawn-timber<br />

decorations or style, which is different from the use of the<br />

word “gingerbread” by the Americans, who use it in a wider<br />

181

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!