08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ปล่อยกู้มหาศาลจนปริมาณสินเชื่อต่อยอดเงินฝากพุ่งสูง<br />

ถึง 150 เปอร์เซ็นต์ การถอนตัวของแหล่งเงินทุนต่าง<br />

ประเทศหลังลอยตัวค่าเงินบาททำให้ยอดสินเชื่อหด<br />

ตัวอย่างรวดเร็ว เมื่อค่าเงินบาทตก หนี้ต่างประเทศของ<br />

บริษัทต่างๆ ก็เพิ่มสูงขึ้น จากสถานการณ์ในตอนนั้น<br />

(บริษัทไทยที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์มีอัตราหนี้<br />

สินต่อส่วนผู้ถือหุ้นที่ 2.8 ใน พ.ศ. 2540) ลำพังยอด<br />

หนี้ที่ทวีขึ้นหลังค่าเงินบาทตกฮวบก็เพียงพอจะทำให้ผู้<br />

ประกอบการตกอยู่ในภาวะล้มละลายแล้ว แต่ธนาคารที่<br />

ถูกกดดันจากการที่นักลงทุนต่างประเทศถอนเงินออก<br />

ไปยิ่งไม่อยากปล่อยกู้ให้ ผลลัพธ์คือระบบเศรษฐกิจ<br />

ทั้งหมดขาดสภาพคล่องโดยฉับพลัน ยิ ่งประจวบกับ<br />

นโยบายรัดเข็มขัดของไอเอ็มเอฟ ก็ยิ่งแย่หนักขึ้น อัตรา<br />

ดอกเบี้ยที่สูงขึ้นในสองปีแรกหลังลอยตัวค่าเงินบาทมี<br />

ผลกระทบกับกระแสเงินสดของผู้ประกอบการ จึงไม่น่า<br />

แปลกใจที่หนี้จำนวนมากกลายเป็นหนี้ด้อยสภาพ และ<br />

ทำให้สถานการณ์ของธนาคารและสถาบันการเงินแย่ลง<br />

1.4. ผลลัพธ์จากการชำระหนี้<br />

ในพ.ศ. 2541 GDP ของประเทศตกลง 10.5<br />

in the last quarter of the same year. Over the whole cycle,<br />

Thailand managed to deleverage itself vis-à-vis the rest<br />

of the world – its external debt fell from $109 billion dollars<br />

at the end of 1996 to $60 billion in 2002, while its net<br />

foreign exchange reserves rose from near zero in the<br />

middle of 1997 to a respectable $38 billion at the end of 2002.<br />

Foreign debt was not the only problem with the Thai<br />

economy. The domestic economy had been highly leveraged,<br />

with the banks and finance companies extending an<br />

excessive amount of credit until it stood at 150% of deposits.<br />

The withdrawal of funds from foreign sources following<br />

the collapse of the baht led to an immediate contraction of<br />

bank credit. The value of the dollar debt owed by businesses<br />

also shot up as the baht fell. Given the high leverage of<br />

Thai firms (listed companies had a debt/equity ratio of 2.8<br />

in 1997), just the increase in the value of the debt due to<br />

the devaluation of the baht was enough to push them into<br />

technical bankruptcy, so that local banks, pressed as they<br />

were by the departure of foreign money, had less incentive<br />

to extend credit to businesses. The consequence was<br />

เปอร์เซ็นต์ และอยู่ในช่วงขาลงโดยตลอดถึง 18 ไตรมาส<br />

นับแต่ไตรมาสที่สองของ พ.ศ. 2540 จนถึงไตรมาสที่<br />

หนึ่งของ พ.ศ. 2545 ชั่วโมงการทำงานต่อสัปดาห์ของ<br />

แรงงานไทยลดลง 9.8 เปอร์เซ็นต์เมื่อเทียบกันระหว่าง<br />

ไตรมาสสาม พ.ศ. 2540 และไตรมาสหนึ่งของพ.ศ.<br />

2541 และตกลงจนถึงไตรมาสสามของ พ.ศ. 2543 1 ใน<br />

บรรดาประเทศที่เผชิญวิกฤติการณ์การเงินหลัง<br />

สงครามโลกครั้งที่สอง อัตราการชะลอตัวทางเศรษฐกิจ<br />

นับว่าใกล้เคียงกันหมด แต่ประเทศไทยและอินโดนีเซีย<br />

เป็นสองประเทศที่ได้รับผลกระทบหนักที่สุดจาก<br />

วิกฤติการณ์การเงินเอเชีย พ.ศ. 2540 (ไรน์ฮาร์ทและ<br />

ร็อกออฟ 2009 น.236) ปัญหาเศรษฐกิจครั้งนี้นับว่า<br />

หนักหนาสาหัสและยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์<br />

ชาติไทยนับจากที่ประเทศเข้าสู่การพัฒนายุคใหม่ใน<br />

พ.ศ 2501 โดยเกิดจากการดำเนินนโยบายการเงินการ<br />

คลังที่ผิดพลาดมากกว่าเป็นผลจากฟองสบู่<br />

ตอนเผชิญกับวิกฤติการณ์นี้ ประเทศไทยมีหนี้สาธารณะ<br />

น้อยมาก ยอดหนี้สาธารณะ (ไม่รวมตราสารหนี้) อยู่ที่<br />

6 เปอร์เซ็นต์ของ GDP เท่านั้น จึงน่าจะเป็นโอกาสให้<br />

รัฐบาลกู้เงินมาบรรเทาสถานการณ์ได้ แต่ความผิดพลาด<br />

an acute shortage of liquidity throughout the system,<br />

a situation that was not helped by the very tight monetary<br />

policy imposed by the IMF. The resulting high interest<br />

rates, at least in the first 2 years following the collapse of<br />

the baht, in turn increased the burden on the businesses’<br />

cash flows. Unsurprisingly, the banks and finance companies<br />

began to see their loans become increasingly nonperforming,<br />

which in turn increased the financial institutions’ own<br />

vulnerability.<br />

The Thai financial crisis of 1997–2000 is best<br />

characterized as a balance-sheet crisis, which affected<br />

the entire private sector. The entire financial system and<br />

vast swathes of the corporate sector had to be restructured.<br />

Because the government had guaranteed all deposits and<br />

credits to financial institutions on August 5, 1997, it now<br />

had to be heavily involved in this restructuring process,<br />

at the very least of the financial institutions. As others and<br />

I have discussed the process elsewhere (Ammar, 2001;<br />

Veerathai, 2003), I shall not dwell on the lengthy process<br />

of restructuring but shall proceed directly to the outcome<br />

102

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!