08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

หลังคา แผ่นที่ใหญ่กว่าช่วยให้มีรอยต่อที่น ้ำฝนจะรั่ว<br />

ซึมน้อยลง ส่งผลให้สามารถลดความชันของหลังคาได้<br />

มากกว่าการมุงหลังคากระเบื้องดินเผาของเรือนไทยพื้น<br />

ถิ่น โดยทั่วไปความลาดชันของหลังคาเรือนไทยพื้นถิ่น<br />

ภาคต่างๆ อยู่ระหว่าง 35 - 60 องศา หลังคาของเรือน<br />

โคโลเนียลที่มุงกระเบื้องว่าวมักมีความชันอยู่ระหว่าง<br />

30 - 35 องศาเท่านั้น<br />

กระเบื้องหลังคาซีเมนต์ไม่ได้ป้องกันการรั่วซึมของ<br />

น้ำฝนด้วยการซ้อนทับกันของแผ่นกระเบื้องที่ปูสลับทับ<br />

กันหลายชั้นแบบกระเบื้องอีเทอร์นิตหรือกระเบื้องดินเผา<br />

เนื่องจากมีความหนาแผ่นมากกว่ากระเบื้องทั้งสอง<br />

อยู่แล้ว แต่ใช้ประโยชน์ของซีเมนต์ที่หล่อขึ้นรูปได้ไม่ยาก<br />

ด้วยการยกขอบส่วนบนของแผ่นกระเบื้องขึ้นเล็กน้อย<br />

เพื่อกันน้ำฝนที่อาจไหลย้อนและซึมลงที่รอยต่อแผ่น<br />

ขณะเดียวกันส่วนของแผ่นด้านล่างมีการทำขอบคว่ำลง<br />

เพื่อเกี่ยวประกบกับขอบด้านบนของแผ่นที่อยู่ถัดลงมา<br />

ด้านล่าง ให้น้ำไหลลงแผ่นล่างและกั้นไม่ให้น้ำไหลย้อน<br />

ขึ้นด้านบนอีกชั้นหนึ่ง<br />

เทคโนโลยีของการหล่อซีเมนต์เป็นแผ่นกระเบื้อง<br />

หลังคาง่ายกว่าการผลิตกระเบื้องดินเผามาก ปูนซีเมนต์<br />

Comparing to clay tiles, cement tiles are heavier; but<br />

with their larger size, the battens can be placed<br />

wider apart. This way the structure can be reduced.<br />

The larger size help reduce the leaking rainwater<br />

through the gaps between the tiles and the pitch of<br />

the roof can be lower than traditional Thai house roof<br />

with clay tiles. In general, the pitch of Ruean Thai<br />

roofs in every region ranged between 35-60 degrees<br />

while the pitch of the Colonial house roof with kite<br />

tiles could be only 30-35 degrees.<br />

Since cement tiles were thicker than Eternit and<br />

clay tiles, it was not necessary for them to be installed<br />

in several layers to prevent leaking. As they could<br />

be moulded easily, the upper edge was slightly raised<br />

to prevent rainwater from going upward and leaking<br />

through the gaps while the lower edge was slightly<br />

bent downward to attach to the lower tile. This helps<br />

enhance the drainage and stop the upward flow.<br />

Moulding cement tiles is much easier than baking<br />

ที่ผสมเสร็จใหม่ๆ มีลักษณะเป็นของผสมหนืดสามารถ<br />

เทลงแบบหล่อเป็นรูปต่างๆ ได้ เมื่อทิ้งไว้ระยะเวลาหนึ่ง<br />

ปูนหล่อซีเมนต์จะคายความร้อนและทำปฏิกิริยาทางเคมี<br />

เปลี่ยนเป็นของแข็งเมื่อแห้งสนิท กระบวนการผลิตกระเบื้อง<br />

ซีเมนต์จึงสะดวก ง่ายกว่ากระเบื้องดินเผาที่ต้องเผา<br />

ดินในเตาด้วยความร้อน และมีราคาถูกกว่า ส่งผลให้<br />

กระเบื้องว่าวเป็นวัสดุมุงหลังคาที่แพร่หลาย พร้อมกับ<br />

การมาของแบบแผนบ้านโคโลเนียลจากชาวตะวันตก<br />

จากเรือนสมัยใหม่ถึงเรือนร่วมสมัย: คอนกรีต ซีเมนต์<br />

ใยหิน และคอนกรีตเสริมเหล็ก<br />

พัฒนาการของเรือนพักอาศัยในประเทศไทยเริ่มเปลี่ยน<br />

ไปอีกครั้ง เมื่อนักเรียนไทยรุ่นแรกที่ไปเรียนสถาปัตยกรรม<br />

ในประเทศอังกฤษและฝรั่งเศสกลับมาทำงานออกแบบ<br />

อาคาร และก่อตั้งคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ที่จุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัย ซึ่งเปิดสอนวิชาสถาปัตยกรรมเป็นครั้งแรก<br />

ในประเทศไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2476 สถาปนิกนักเรียนนอก<br />

กลุ่มนี้เริ่มนำแบบแผนและรูปแบบสถาปัตยกรรมสมัย<br />

ใหม่ช่วงต้น (Early Modern architecture) ที่เริ่มแพร่<br />

ceramic tiles. Freshly mixed cement was sticky and<br />

mouldable. While the mixture was setting, it released<br />

out heat; and as it became completely dry, it turned<br />

solid due to the chemical reaction. This made the<br />

production of cement tiles a lot more simple and<br />

cheaper than clay tiles which required baking with<br />

high heat. Kite tiles then became famous with the<br />

arrival of the Colonial style.<br />

From Modern Houses to Contemporary Houses: Concrete,<br />

Fiber-reinforced Cement, and Reinforced Concrete<br />

Houses in Thailand evolved once again when the<br />

first group of Thai students who had been studying<br />

Architecture in Britain and France returned home<br />

after graduation. They began to work as architects<br />

and founded the Faculty of Architecture at<br />

Chulalongkorn University in 1933. These architects<br />

imported the Early Modern Architecture trend which<br />

256

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!