08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ไม่เห็นด้วยกับการมีสภาผู้แทนราษฎร โดยให้<br />

ความเห็นว่าประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจะต้องเข้าใจ<br />

ระบบการปกครองแบบมีการเลือกตั้งอย่างดี และต้อง<br />

มีการศึกษาสูงกว่าที่เป็นอยู่ในช่วงรัชกาลที่ 7 มิฉะนั้น<br />

แล้วองค์กรเชิงรัฐสภาที่ประชาชน (ซึ่งขาดความพร้อม)<br />

เลือกตั้งขึ ้นมามีแต่จะนำอันตรายใหญ่หลวงมาสู่<br />

บ้านเมือง 37 ฉะนั้นดูไม่มีทางเลือกทางอื่นนอกจากการ<br />

คงไว้ซึ่งระบบการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์<br />

ไปก่อนจะดีกว่า อย่างไรก็ดีร่างกฎหมายการปกครอง<br />

ที่ร่างขึ้นก่อน พ.ศ. 2475 นั้นก็มิได้มีลักษณะที่เป็น<br />

รัฐธรรมนูญในระบอบประชาธิปไตยแต่อย่างใด เพราะ<br />

อำนาจอธิปไตยก็ยังคงเป็นของพระมหากษัตริย์อย่าง<br />

ที่เคยเป็นมา ดังนั้นจึงเป็นแบบของการปกครอง<br />

ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในอีกรูปแบบหนึ่งเท่านั้น<br />

แนวพระราชดำริเรื่องการพระราชทานรัฐธรรมนูญนี้ใน<br />

ที่สุดแล้วก็มิได้มีการดำเนินการต่อไปแต่อย่างใด<br />

สถาปัตยกรรม<br />

สมัยรัชกาลที่ 7 เป็นยุคของการเปลี่ยนผ่านความ<br />

รับผิดชอบทางด้านสถาปัตยกรรมจากฝีมือของสถาปนิก<br />

Restoration of the Temple of the Emerald Buddha<br />

In this project, the king’s elder brother, Prince Nakorn<br />

Sawan Voraphinit was the head of the restoration committee,<br />

and Chaophraya Voraphong Phiphat was in charge of all<br />

works requiring technical tradesmen and artisan skills.<br />

The restoration process began in 1928 and from a list<br />

of nineteen items proposed by Chaophraya Voraphong<br />

Phiphat, the committee chose to restore four major items<br />

that were in highly deteriorated conditions. These were<br />

the ubosot, the gallery and its mural paintings, the open<br />

pavilions, and Hor Phra Monthien Dharma building.<br />

All four items had the same technical problems<br />

concerning dilapidated wooden roof structures that needed<br />

to be replaced in addition to replacing the roofing materials,<br />

and certain parts of the building structures also needed<br />

to be strengthened with reinforced concrete. As for the<br />

restoration of the mural paintings, this was considered to<br />

be a major undertaking to conserve the valuable traditional<br />

artwork and therefore every known highly skilled craftsmen<br />

were recruited to carry out the task. The total cost of the<br />

ชาวต่างชาติมาเป็นความรับผิดชอบของสถาปนิกไทย<br />

เนื่องจากสถาปนิกชาวยุโรปเริ่มหมดสัญญาว่าจ้างใน<br />

การทำงานให้รัฐบาลสยาม เช่น นายมาริโอ ตามานโย<br />

หมดสัญญาใน พ.ศ. 2468 38 และเดินทางกลับประเทศ<br />

อิตาลี ขณะเดียวกันคนไทยที่ไปศึกษาวิชาสถาปัตยกรรม<br />

ที่ยุโรปก็เริ่มจบการศึกษาและเข้ารับราชการในกรุงเทพฯ<br />

ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 6 และเริ่มทำงานออกแบบพระที่นั่ง<br />

ถวายพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวแล้ว เช่น<br />

พระที่นั่งชาลีมงคลอาสน์ ที่พระราชวังจันทร์สนามจันทร์<br />

ออกแบบโดยหม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากร<br />

เป็นต้น ขณะเดียวกันก็ได้เริ่มมีการเรียนการสอนวิชา<br />

สถาปัตยกรรมโดยนายนารถ โพธิประสาท เริ่มต้นเปิด<br />

การสอนที่โรงเรียนเพาะช่างเมื่อ พ.ศ. 2473 ต่อมาใน<br />

พ.ศ. 2476 ก็ได้มีการสถาปนาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

ขึ้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นับเป็นการเริ่มให้การ<br />

ศึกษาวิชาสถาปัตยกรรมในระดับมหาวิทยาลัยเป็น<br />

ครั้งแรกในสยาม และมีการก่อตั้งสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ขึ้นใน พ.ศ. 2477 39<br />

ในเดือนเมษายน พ.ศ.2475 เป็นวาระครบรอบ<br />

150 ปีแห่งการสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ พระบาท<br />

entire restoration work amounted to 507,400 Baht at the<br />

time of completion.<br />

Construction of Rama I Memorial Bridge<br />

This project involved erecting a monument to Rama I<br />

and constructing an iron bridge that crosses Chao Phraya<br />

River to link Bangkok on the one side with Thonburi on<br />

the other. 40 The undertaking was considered to be the first<br />

major work of architectural engineering and costed four<br />

million Baht altogether.<br />

The monument itself has a tripled-life-size seated<br />

bronze statue of Rama I sculpted by Corrado Feroci (Silpa<br />

Bhirasri). The architectural components of the monument<br />

which are the podium and the background wall, were<br />

designed by Prince Narisara Nuvadtivongse who was<br />

the architect. The wall was designed in the style of a<br />

Palladian façade with three parts. The central part, which<br />

is directly behind the royal statue, is higher and wider than<br />

the other two both of which have the same dimensions.<br />

The part directly behind the statue has a surface plane of<br />

the wall slightly recessed like a shallow niche to further<br />

207

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!