08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

เรือนขนม (ปัง) ขิง คำศัพท์ “Gingerbread” ในทาง<br />

สถาปัตยกรรมนี้แพร่หลายเข้ามาในเมืองไทยอย่างไร<br />

และเข้ามาเมื่อใดไม่มีหลักฐานแน่ชัด แต่น่าจะเข้ามา<br />

ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง อย่างไรก็ดีการแพร่หลาย<br />

ของคำว่า “Gingerbread” ในเมืองไทยน่าจะเกิดจาก<br />

หนังสือเรื่อง “แบบแผนบ้านเรือนในสยาม” เขียนโดย<br />

น. ณ ปากน้ำ ตีพิมพ์ครั้งแรกใน พ.ศ. 2531 และล่าสุด<br />

เป็นการตีพิมพ์ครั้งที่ 6 ใน พ.ศ. 2555 จุดมุ่งหมายใน<br />

การเขียนนั้น ผู้เขียนอธิบายในหน้า 9 ว่า “...หนังสือ<br />

เล่มนี้มีจุดประสงค์จะพรรณนาถึงเรือนไทยฝาปะกนกับ<br />

เรือนปั้นหยา และเรือนมะนิลา ทั้งการตกแต่งลวดลาย<br />

ขนมปังขิงเป็นเรื่องสำคัญ...” หนังสือดังกล่าวผู้เขียนได้<br />

ใช้เวลาเก็บรวบรวมภาพอาคารที่ตกแต่งด้วยลวดลาย<br />

ไม้ฉลุมาตั้งแต่ราว พ.ศ. 2500 จึงเป็นเอกสารสำคัญ<br />

ที่รวบรวมข้อมูลภาพถ่ายอาคารที่ตกแต่งด้วยลวดลาย<br />

ไม้ฉลุเอาไว้ได้มากที่สุด ส่วนคำอธิบายเกี่ยวกับคำศัพท์<br />

Gingerbread นั้น น. ณ ปากน้ำ เขียนว่า<br />

“จากเรือนปั้นหยาได้วิวัฒนาการมาเป็นเรือน<br />

มะนิลา คือบางส่วนเป็นเรือนหลังคาปั้นหยา<br />

• “The Gingerbread House of Port-au-Prince, Haiti”<br />

Columbia GSAAP. 2016. Research report, Columbia<br />

University and the Gingerbread Studio / Fall 2015.<br />

• World Monument Fund (WMF). “Maison Dufort”<br />

Restoration training to save Haiti’s Gingerbread<br />

houses. Report author Will Raynolds. 2016.<br />

From the apparent interest and accumulation of<br />

information on Gingerbread Houses in the past, it may<br />

be assumed that the word “Gingerbread” in connection<br />

with architecture originated with the Americans and later<br />

became widespread up until the present day (2018) in which<br />

it has been accepted and used by professional architects<br />

as well as those in the academic circles around the world.<br />

Gingerbread (style) houses in Siam<br />

There is no clear evidence as to how or when exactly<br />

the term “Gingerbread” in connection with architecture<br />

came to be adopted in Thailand. But most likely, it would<br />

have been after the Second World War. However, it might<br />

be said that the term, translated into Thai as Khanompang<br />

แล้วเปิดบางส่วนให้มีหน้าจั่ว ในสมัยที่เรือนแบบ<br />

มะนิลา (ซึ่งคงจะแพร่หลายมาจากเมืองมะนิลา)<br />

เข้ามาสู่ความนิยมอย่างแพร่หลายอันตรงกับสมัย<br />

ที่สถาปัตยกรรมแบบเรือนขนมปังขิง (Ginger<br />

Bread) แพร่เข้ามาด้วย ลักษณะเรือนขนมปังขิงนี้<br />

เป็นชื่อเรียกสากลทับศัพท์ว่า จินเจอร์ เบรด<br />

อันมีที่มาจากขนมปังขิงสมัยโบราณของชาว<br />

ตะวันตก ซึ่งตกแต่งหรูหราฟู่ฟ่า มีครีบระบาย<br />

แพรวพราว เรือนแบบนี้ได้พบเห็นจากหนังสือ<br />

แมกกาซีนต่างประเทศ...”<br />

“ที่พม่าบ้านเรือนใกล้สนามบินร่างกุ้งยังคงเต็ม<br />

ไปด้วยบ้านแบบขนมปังขิงอยู่สมัยเมื่อ ๑๐ หรือ<br />

๒๐ ปีมาแล้ว ในยุโรปตามประเทศต่างๆ หาดู<br />

ได้ยาก ด้วยบ้านแบบนี้ส่วนใหญ่จะสร้างด้วยไม้<br />

มีการฉลุครีบที่หน้าจั่วกับเชิงหลังคาอย่าง<br />

ละเอียด ย่อมผุพังหรือถูกรื้อถอนไปเสียหมด<br />

แม้ในเมืองไทยก็ถูกรื้อถอนเปลี่ยนแปลงไป<br />

เสียมากต่อมาก ต่อไปอีกไม่ถึง ๑๐ ปี ก็อาจจะ<br />

ค่อยๆ หมดไป”<br />

“เรือนมะนิลาก็ดี เรือนขนมปังขิงก็ดี ซึ่ง<br />

Khing, was popularized to a certain extent by Nor Na<br />

Paknam in his book on Houses in Siam, first published<br />

in 1988. The author himself explained (on page 9) that:<br />

“...this book intends primarily to provide a<br />

description of the wooden Thai houses that have<br />

paneled walls with Manila or hipped roofs, and<br />

decorated with Ginger Bread style ornamentation...”<br />

The pictures of these houses decorated with perforated<br />

sawn-timber detailing in the book, were taken and collected<br />

since 1957. Therefore this is a valuable documentation<br />

and source of information containing a large number of<br />

rare images. In his book, the author also explained (in<br />

Thai) about the term “gingerbread” to the following effect:<br />

“From houses with hipped roofs, the trend<br />

gradually evolved into the Manila style that had<br />

gabled-hip (or gambrel) roofs. The period in which<br />

the Manila style (the influence of which probably<br />

came from the City of Manila) became popular,<br />

was around the same time as the Ginger Bread<br />

style. This Ginger Bread style, to use the English<br />

180

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!