08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

บ้านรองศาสตราจารย์แสงอรุณ<br />

ASSOCIATE PROFESSOR SAENGARUN’S HOUSE<br />

บ้านพักอาศัยของไทยภาคกลางใช้ระบบมาตรฐาน<br />

Standardization แม้ว่าเราไม่ได้พัฒนาระบบนี้ขึ้นถึงระดับสูง<br />

เช่นที่ชาวญี่ปุ่นทำได้สำเร็จก็ตาม แต่ก็นับได้ว่าสถาปนิกในอดีต<br />

ของเราได้สร้างเอกลักษณ์ ในแบบสถาปัตยกรรมประเภทนี้ไว้<br />

อันควรแก่การภูมิใจ<br />

คุณสมบัติอีกประการที่อาจเรียกได้ว่าเป็นเอกลักษณ์ของ<br />

งานสถาปัตยกรรมประเภทบ้านพักอาศัยก็คือ การที่พืชพันธุ์ไม้<br />

วางห้อมล้อมตัวอาคาร ทำหน้าที่เป็นฉนวนป้องกันตัวเรือนให้<br />

พ้นจากความร้อน และสายลมฝนและเนื่องจากที่ดินยังมีเพียง-<br />

พอ สวนครัวสวนสมุนไพร จึงเข้ามาอยู่ร่วมกันด้วย ทั้งหมดนี้<br />

เมื่อรวมกันขึ้น คือ งานสถาปัตยกรรมแบบอุทยานนคร ปัจจุบัน<br />

สภาพเมืองอุทยานได้สูญสิ้นไปแล้วจากประเทศ<br />

สิ่งที่น่าวิตกมาก คือ อาคารทุกชนิดในปัจจุบันแสดงความชิง<br />

เด่นให้ปรากฏ ได้มีการแสดงแปลกประหลาดและดึงดูดสายตา<br />

ด้วยกรรมวิธีต่างๆ เราควรเลิกการทำอะไรที่ชิงเด่นกันได้แล้ว<br />

อยู่กันอย่างสงบ สงัด และเลิกคิดว่า สถาปัตยกรรมเป็นพระเอก<br />

เรายกตำแหน่งนี้ให้แก่ธรรมชาติ เหตุสำคัญ 2 ประการคือ<br />

1.เพื่อความกลมกลืน<br />

2.เพื่อความประหยัด<br />

ความกลมกลืนของอาคารในเมืองเป็นสิ่งซึ่งก่อให้เกิด<br />

สะท้อนสัมผัสที่ราบรื่นตัวอย่างเช่นการใช้ระบบมาตรฐาน ของ<br />

อาคารบ้านไทยภาคกลางในอดีต รูปทรงของไทยภาคกลางใน<br />

อดีตซึ่งปัจจุบันได้ถูกทอดทิ้งไปแล้วนั้น บางท่านอาจจะเห็นว่า<br />

Thai houses in the central region of Thailand are a part<br />

of standardized architecture. Although the system may<br />

not be as complicated as traditional Japanese houses,<br />

it doesn’t make them any less unique but something<br />

that we can be proud of.<br />

One important characteristic is how plants are<br />

strategically arranged around the house. They act as<br />

insulation and protect the house from gusts and rain.<br />

Back then, houses were built on large pieces of land.<br />

Herb gardens sit among big trees creating something<br />

similar to a park. This characteristic is now a bygone<br />

quality in residential architecture of Thailand.<br />

What is so worrying is how buildings right now try<br />

so hard to be noticed. They demand attention in the<br />

most bizarre and every way possible. We have to stop<br />

competing for attention and live in peace and quietude.<br />

We must stop thinking that architecture is the leading<br />

man and give this title to nature for 2 important reasons;<br />

1. Everything should be in harmony<br />

2. To save cost<br />

Harmony of buildings is the quality that brings<br />

about the standardization of traditional houses in the<br />

central region of Thailand. This architecture, which<br />

ปีที่สร้าง เจ้าของ ผู้ออกแบบ<br />

Year Owner Designer<br />

- - ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

(ปรับปรุงจาก<br />

เรือนไทยสมัยรัชกาล<br />

ที่ 5)<br />

- - No information<br />

(renovated from<br />

old Thai houses<br />

from King Rama V<br />

period)<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณฤกษ์ดี โพธิวนากุล<br />

พื้นที่ งบประมาณ<br />

Area Cost<br />

- ซื้อหลังเก่า<br />

ราคาไม่ถึง<br />

หนึ่งหมื่น<br />

บาทต่อ<br />

เรือน<br />

- Old houses<br />

were<br />

bought for<br />

less than<br />

10,000<br />

Baht each<br />

วัสดุ ที่ตั้ง พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

Material Location GPS<br />

ไม้ - -<br />

wood - -<br />

496

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!