08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ตัวอาคารและเครื่องบรรณาการมีความเหมาะสมกลมกลืน<br />

กัน และเพื่อแสดงให้เห็นถึงความมีอารยะของพระมหา<br />

กษัตริย์ไทย<br />

พระราชมณเฑียรแห่งนี้ประกอบด้วยพระที่นั่ง<br />

8 องค์ และหอ 3 หอ รวม 11 อาคาร แต่การตั้งนาม<br />

พระที่นั่งและอาคารต่างๆ นั้นได้รวมเอานามพระที่นั่ง<br />

สุทไธสวรรย์ปราสาทและพระที่นั่งไชยชุมพลเข้ามา<br />

เป็นหมู่พระที่นั่งเดียวกันด้วย ส่วนพระที่นั่งหลักนั้น<br />

ได้แก่ พระที่นั่งอนันตสมาคม เป็นท้องพระโรงกลาง<br />

พระที่นั่งบรมพิมาน เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์<br />

และพระที่นั่งนงคราญสโมสร เป็นที่ประทับของ<br />

พระมหากษัตริย์และฝ่ายใน โดยวางผังให้พระที่นั่งหลัก<br />

ทั้งสามหลังอยู่ในแนวแกนหลักโดยมีพระมหากษัตริย์<br />

เป็นศูนย์กลาง ซึ่งเป็นไปตามแบบแผนของการวางผัง<br />

หมู่พระราชมณเฑียรตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 เป็นต้นมา<br />

การตกแต่งภายในของพระที่นั่งอนันตสมาคมนั้น<br />

เป็นไปอย่างหรูหรา ที่ท้องพระโรงมีการประดับเพดาน<br />

ด้วยโคมไฟระย้า เสาแบบคลาสสิคมีลักษณะหัวเสาคล้าย<br />

กับหัวเสาแบบคอรินเธียน แต่ฐานเสาเป็นแบบบัวไทย<br />

การเจาะช่องผนังท้องพระโรงกลางเป็นแบบผสมผสาน<br />

rais; and to further facilitate transport and communication<br />

in Bangkok, bridges were also built across canals so that<br />

land and water transport may be linked.<br />

Architecture<br />

In order to maintain the nation’s independence and<br />

deter aggression by great western powers, European style<br />

architecture became an important cultural tactic in a policy<br />

advocated by Rama IV to demonstrate Siam’s efforts in<br />

developing the country to equal that of the Western world.<br />

Such style of architecture in the Rattanakosin period<br />

first appeared with the construction of Phra Thinang<br />

Abhinaonives, the king’s residential quarters in the Grand<br />

Palace. Constructed between 1852 and 1857, the intention<br />

was to build western style architecture for entertaining<br />

state visitors and foreign guests as well as to display<br />

objects and items that were gifts presented to the king<br />

from various European countries. The architecture and<br />

the display of objects therefore, were to be harmoniously<br />

integrated in the design so as to reflect the civilized tastes<br />

and sophistication of the Siamese king.<br />

มีทั้งแบบซุ้มโค้ง (Round Arch) และแบบซุ้มยอดแหลม<br />

(Pointed Arch) ภายในท้องพระโรงกลางมีข้อความ<br />

เขียนด้วยตัวอักษรภาษาจีนที่เสาสองต้น ทางด้านขวาและ<br />

ด้านซ้ายของพระราชบัลลังก์ แปลความได้ว่า “อดทนขณะนี้<br />

ทะเลจะสงบ” และ “ถอยสักก้าว ท้องฟ้าจะกว้างขึ้น”<br />

ซึ่งเป็นข้อความที่แสดงนัยของนโยบายทางด้านการ<br />

ต่างประเทศของสยามในสมัยรัชกาลที่ 4<br />

พระที่นั่งภูวดลทัศไนย สร้างขึ้นตามที่รัชกาลที่ 4<br />

ได้ทรงมีพระราชประสงค์ให้ใช้เป็นหอนาฬิกาบอกเวลา<br />

มาตรฐานแบบตะวันตกแทนที่การนับทุ่มโมงแบบดั้งเดิม<br />

ของไทย หอนาฬิกาจึงเป็นพระที่นั่งซึ่งแสดงความรู้ทาง<br />

วิทยาศาสตร์ ซึ่งมีความทัดเทียมกับอารยประเทศตามที่<br />

ได้ทรงมีพระราชปรารภว่า “...จะเป็นเหตุให้เขาหัวเราะ<br />

เยาะเย้ยได้ว่าเมืองเราใช้เครื่องมือนับทุ่มโมง เวลา<br />

หยาบคายนักไม่สมควรเลย เพราะเหตุฉะนี้ พระบาทสมเด็จ<br />

พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพินิจพิจารณาตรวจตรา<br />

คำนวณความดำเนินพระอาทิตย์ ให้ฤดูทั้งปวงสอบกับ<br />

นาฬิกาที่ดีมาหลายปี ทรงทราบถ้วนถี่ทุกประการ แจ้ง<br />

ในพระราชหฤทัยแล้ว...” และจากการคำนวณพระองค์<br />

ได้ทรงกำหนดตำแหน่งที่ตั้งของหอนาฬิกา ทั้งยังได้<br />

There were altogether eleven buildings in this complex<br />

which consisted of eight Phra Thinang and three other<br />

buildings. However in naming the buildings, the names<br />

of Phra Thinang Suthaisawan Prasat and Phra Thinang<br />

Chai Chumphon were also added into the group. The main<br />

buildings were: (the earlier) Phra Thinang Ananta Samakhom<br />

Throne Hall, which was the principal building, Phra Thinang<br />

Borom Phiman, which served as the king’s residence,<br />

and Phra Thinang Nongkhran Samosorn, which served<br />

to accommodate the inner royal courtiers. These three<br />

buildings were placed alongside each other respectively<br />

with the king’s residence in the middle according to the<br />

principle that has been practiced since the time of Rama I.<br />

The interior of Ananta Samakhom Throne Hall was<br />

elaborately decorated and had chandeliers, classic style<br />

columns with composite Corinthian-like capitals and Thai<br />

style base, and a combination of both round and pointed<br />

arches. Inside the main hall, the two columns flanking the<br />

Throne had inscriptions in Chinese calligraphy with the<br />

philosophical sayings that could be translated respectively<br />

157

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!