08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ก็คงความวิเศษอัศจรรย์เหล่านั้นไว้ ยายผมซึ่งเกิดใน<br />

แผ่นดินพระพุทธเจ้าหลวงเคยเล่าให้ฟังว่าตอนมีไฟไหม้<br />

สำเพ็ง รัชกาลที่ 5 เสด็จฯ แล้วพระองค์ก็ทรงทำให้ไฟดับ<br />

ด้วยการชักพระแสงและโบก ลองคิดถึงบุคคลซึ่งสร้าง<br />

สิ่งต่างๆ ที่เป็น “สมัยใหม่” แต่ขณะเดียวกันผู้คนกลับ<br />

เชื่อว่าพระองค์ท่านทรงดับเพลิงด้วยพระแสงแทนที่จะ<br />

เป็นใช้น้ำฉีดเข้าไป อย่างนี้น่าสนใจ คือท่านรู้ว่าท่านเป็น<br />

อะไร ท่านอยู่ได้ทั้งสองโลก จะทรงเครื่องแบบฝรั่งก็ได้<br />

หรือแต่งแบบไทยก็ได้ ทำให้เห็นว่าสองอย่างนี้อยู่ด้วย<br />

กันได้ ซึ่งไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 9 เหตุผล<br />

สำคัญก็คือว่าตั้งแต่ต้นรัชกาล บทบาทของพระเจ้าอยู่หัว<br />

ต่อการพัฒนาประเทศในแง่ของ space ผมไม่คิดว่า<br />

เหมือนในสมัยรัชกาลที่ 5 เพราะโครงสร้างของรัฐเปลี่ยน<br />

พระองค์ทรงกลายเป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ<br />

แล้วตัวละครอื่นๆ ที่เล่นก็เล่นตามบทอีกหลายอย่าง<br />

อย่างเช่นต้องทำตามรัฐบาลในเวลานั้น ต้องทำตาม<br />

อิทธิฤทธิ์ของมหาอำนาจอย่างสหรัฐอเมริกา ต้องทำ<br />

ตามความรู้สมัยใหม่ที่ปรากฏชัดเจนขึ้นเรื่อยๆ จึงออกมา<br />

เป็นการวางแผนในเรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจ ผมเข้าใจว่า<br />

ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีพระบรมวงศานุวงศ์ไปเรียนเมืองนอก<br />

แต่ไม่มีใครที่เรียนด้านเศรษฐศาสตร์มาเลย แต่ใน<br />

สมัยรัชกาลที่ 9 การเดินทางไปเรียนในต่างประเทศ<br />

มีหลายหลายสาขามากขึ้น ซึ่งก็เป็นผลมาตั้งแต่หลัง<br />

เปลี่ยนแปลงการปกครองมีทั้งออกแบบ เศรษฐศาสตร์ ฯลฯ<br />

ความน่าสนใจก็คือว่า ในเวลาต่อมาสิ่งที่จะเชื่อมร้อยให้<br />

กลับมาเป็น postmodern เลยไม่ค่อยมี<br />

อาจารย์กิจโชติ: วิธีการเหล่านี้ในความเป็น modern<br />

และ postmodern แบบนี้นั้นเป็นแบบเดียวกับที่เกิด<br />

ขึ้นในสังคมโลกโดยทั่วไปไหมครับ ยกตัวอย่างเช่น<br />

ภาพรวมของโลกที่มันมีการกำหนดยุคเป็น modern<br />

postmodern โดยเฉพาะยุคคริสต์ทศวรรษ 1950 และ<br />

1960 ที่เป็นโมเดิร์น พอมายุคคริสต์ทศวรรษ 1980<br />

ก็เป็น postmodern แล้วพอยุคคริสต์ทศวรรษ 1990<br />

ก็เป็น deconstruction ครับ<br />

อาจารย์ชัยวัฒน์: สิ่งที่ผมลังเลเล็กๆ ก็คือว่า เวลา<br />

เราใช้ concepts เหล่านี้ มันมีที่มาที่ไป แต่ผมกำลังคิด<br />

ว่าถ้าผมเป็นฮินดู concept นี้สงสัยจะใช้ไม่ได้ เพราะใน<br />

บางครั้งพระศิวะและพระแม่อุมาก็ปรากฏตัวรวมกันก็ได้<br />

คือในสังคมฮินดูการผนวกรวมอะไรต่างๆ แบบแนวคิด<br />

หลังสมัยใหม่เกิดขึ้นมานานแล้ว ดังนั้นสำหรับในอินเดีย<br />

to believe in miracles. My grandmother who lived<br />

during his reign told me about a fire in Chinatown<br />

(Sampeng). The King put out the fire simply just by<br />

raising and waving his sword. Think about it. This<br />

person who led the country to modernism is the<br />

same one people believed that he could put out the<br />

fire with his royal sword. This is so interesting. He<br />

knew who he was. He lived in both worlds. He could<br />

don western attire as comfortably as Thai garments.<br />

It shows that these two things can co-exist, which<br />

is not quite the case in King Rama IX period. I think<br />

it’s because the role of the King in the country’s<br />

development had changed. State structure is no longer<br />

the same as during King Rama V’s time. The regime<br />

had changed to constitutional monarchy. The King<br />

had to be under the constitution. Other characters<br />

had to act along scripts given by the government at<br />

the time, directed by a big player like the US. New<br />

knowledge was formulated into economic development<br />

strategies. King Rama V sent his children to study<br />

abroad but I think none of them studied economics.<br />

But in the realm of King Rama IX, people started to<br />

go abroad studying a wider range of subjects including<br />

economics as a result of the revolution. Now that the<br />

time had passed, it became less and less relevant<br />

from the postmodern perspective.<br />

Quijxote: Do you think it’s consistent with modern<br />

and postmodern movements that happen in other parts<br />

of the world? That the 50s and 60s are defined as<br />

modern, 80s as postmodern and 90s as deconstruction.<br />

Chaiwat: I’m a bit reluctant to define things with<br />

these terms. Because if I’m a Hindu, these concepts<br />

won’t apply. In Hindu culture, Shiva and Uma sometimes<br />

are considered as one. Merging things or blurring<br />

282

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!