08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ประเภทก็ต้องชัดเจน ที่นี้พอชีวิตมนุษย์เปลี่ยนแปลง<br />

มากขึ้นสิ่งที่แบ่งชัดเจนมากก็เริ่มมีปัญหา คือในโมเดิร์น<br />

ต้องชัดเจน เช่น คุณสองคนเป็นผู้หญิง เราสองคนเป็น<br />

ผู้ชาย แต่พอคุณเคลื่อนไปผ่านเวลาที่เปลี่ยนแปลงไป<br />

ความเป็นเพศเริ่มไม่เสถียร เลยเริ่มไม่แน่ใจที่จะบอกว่า<br />

เป็นหญิงหรือชาย เลยต้องทำให้เส้นแบ่งเป็นสองเพศที่<br />

เคยแน่นอนชัดเจนอ่อนจางลง ดังนั้น Deconstruction<br />

ก็คือ Deconstruct ของสิ่งซึ่งมันแน่นอน ชัดเจน เพราะ<br />

“ความจริง” มันไม่ค่อยชัดแล้ว แล้วตัววิทยาศาสตร์ก็<br />

พิสูจน์ว่าในตัวเรามีทั้งชายและหญิง ความรู้เดิมก็ถูกตั้ง<br />

คำถาม สิ่งที่เรียกว่าความเป็นชายหรือหญิงที่แน่นอน<br />

เริ่มมีปัญหา สิ่งต่างๆ พวกนี้เริ่มมีปัญหารวมถึงความ<br />

เป็นไทยด้วย เพราะฉะนั้นมาถึงวันนี้สิ่งที่คุณจะเรียกว่า<br />

สถาปัตยกรรม “ไทย” ก็ค่อนข้างตลก<br />

ถ้าถามว่าสิ่งที่เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 คืออะไร<br />

ในความเห็นของผมสิ่งที่เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 คือ<br />

ใช่ พระองค์ modernize ประเทศนี้ แต่ความสามารถ<br />

ของพระองค์คือ ความสามารถของการผนวกผสาน<br />

เก่าและใหม่ให้เข้ากันสนิท สิ่งที่เห็นชัดคือเห็นผ่าน<br />

งานสถาปัตยกรรม เช่น พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท<br />

เป็นตัวอย่างของการที่เอาของโบราณกับของสมัยใหม่<br />

มาอยู่ด้วยกันได้ แต่อย่างพระที่นั่งอนันตสมาคมไม่ใช่<br />

เป็นการยกสถาปัตยกรรมแบบฝรั่งมา เพราะฉะนั้นโจทย์<br />

ของพัฒนาการของประเทศเราตลอดมาก็คือการต่อสู้กัน<br />

ระหว่างตึกสองแบบ คือตึกแบบพระที่นั่งอนันตสมาคม<br />

กับตึกแบบพระที่นั่งจักรี ลานแบบลานพระบรมรูปทรง<br />

ม้าที่เหมือนของฝรั่งเศสกับลานแบบริมคลอง ลักษณะ<br />

แบบนี้ต่อสู้กันในสังคมไทย สิ่งที่ถูกม้วนเข้าไปในความ<br />

เปลี่ยนแปลงและการต่อสู้นี้ก็คือ ชีวิตของคนไทยเอง<br />

ซึ่งแปรเปลี่ยนไปในบริบทของการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้<br />

อาจารย์กิจโชติ: อาจารย์ถ่ายทอดเกี่ยวกับรัชกาล<br />

ที่ 5 ที่มีการเผชิญหน้ากันระหว่างแนวคิดที่เป็นของ<br />

สยามประเทศกับแนวคิดของตะวันตกโดยยกตัวอย่าง<br />

ผ่านสถาปัตยกรรม จริงๆ แล้วกลับทำให้ผมรู้สึกได้ว่า<br />

ด้วยวิธีการเหล่านั้นในยุคนั้นมันตรงกับเนื้อหาวิธีการ<br />

แบบ postmodernism ก่อนที่จะเป็นยุคของ postmodern<br />

จริงๆ มั้ยครับ คือวิธีการคิดดังกล่าวมันตรงกับวิธี<br />

การที่ฝรั่งบัญญัติยุคหนึ่งว่า postmodern คือการหวน<br />

กลับไปหารากของวัฒนธรรมบางประเภทในอดีตที่มี<br />

ประสิทธิภาพเพียงพอในการถูกหยิบยกขึ้นมาให้ชัดเจน<br />

อีกครั้งผ่านการตีความกับมัน<br />

of modernity, categorization has to be clear-cut. Once<br />

“man” and “woman” was very clearly defined, but<br />

as human society becomes more advanced, the line<br />

separating one category from another has become<br />

increasingly blurred. Gender is no longer definite.<br />

Ambiguity is starting to be a norm. The line used to<br />

categorize the two sexes begins to fade. The concept<br />

of deconstruction works with things that are definite.<br />

But since our reality is no longer clearly defined, how<br />

do we deconstruct it now? Science has proved that<br />

there are both masculinity and femininity in all of us.<br />

Traditional gender categorization is now challenged.<br />

It’s the same thing with Thainess. It’s almost ridiculous<br />

to pinpoint something as “Thai” architecture now.<br />

Yes, King Rama V modernized this country. But I<br />

think the most outstanding achievement was his talent<br />

to seamlessly blend the old and the new. And it showed<br />

in architecture. Chakri Maha Prasat Throne Hall is a<br />

great example of the old merging with the new. On the<br />

other hand, Ananta Samakhom Throne Hall is purely<br />

western architecture. The development of this country<br />

has always been a duel between the Ananta Samakhom<br />

and the Chakri Maha Prasat types of building, or the<br />

French-influenced King Rama V Equestrian Statue<br />

patio and the Thai-style yard along the canal. Amid the<br />

battling out between these two sets of idea, the lives of<br />

Thai people inevitably have to change.<br />

Quijxote: You talked about the clash of Thai<br />

culture and western culture as shown in architecture.<br />

It seems to me that this is a very postmodern concept<br />

that happened long before the idea of postmodernism<br />

was conceived. As postmodern is once described as<br />

going back to the culture that is efficient enough to<br />

be reinterpreted.<br />

280

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!