08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ปรากฏว่าในรัชกาลที่ 5 มีรถยนต์ในกรุงเทพฯ จำนวน<br />

ถึง 251 คัน รถยนต์จะมีบทบาทเป็นพาหนะสำคัญใน<br />

การสัญจรไปมา ทั้งยังเป็นค่านิยมที่สำคัญในวิถีชีวิต<br />

ของสังคมไทยในสมัยต่อมา<br />

การปฏิรูปประเทศในด้านต่างๆ นั้นต้องการคน<br />

ทำงานที่มีความรู้และความเข้าใจในหลักการที่ถูกต้อง<br />

เพื่อให้เกิดสัมฤทธิ์ผลและเป็นพื้นฐานที่มั่นคงของ<br />

การพัฒนาประเทศต่อไป ดังนั้นพระบาทสมเด็จ<br />

พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงว่าจ้างชาวต่างประเทศ<br />

เข้ามารับราชการในกิจการด้านต่างๆ เป็นจำนวนมาก<br />

ใน พ.ศ. 2449 นั้นปรากฏว่ามีจำนวนที่ปรึกษา<br />

ชาวต่างประเทศ 44 คน และมีผู้ทำงานเป็นชาวต่าง<br />

ประเทศในกระทรวงต่างๆ ถึง 247 คน โดยมีชาวอังกฤษ<br />

มากที่สุดถึง 126 คน<br />

สำหรับชาวต่างประเทศที่ทำงานด้านศิลปะและ<br />

สถาปัตยกรรมนั้น เช่น กลุ่มสถาปนิก ได้แก่ นายโจอาคิม<br />

กราสซี ชาวอิตาเลียน เข้ามาในกรุงเทพฯ ราว พ.ศ. 2413<br />

นายมาริโอ ตามานโย ชาวอิตาเลียน เข้ามารับราชการ<br />

ในกรมโยธาธิการ ตั้งแต่ พ.ศ. 2443 ต่อมาได้เป็น<br />

หัวหน้าสถาปนิกใน พ.ศ. 2453 นายอัลนิบาลเล ริกอตติ<br />

of public transport at the time, and electric trams served<br />

the people of Bangkok from then on until its operation<br />

ended in 1968.<br />

Another important change in the means of transportation<br />

was the use of motorcars which appeared around the period<br />

before 1904. The first person to bring a motorcar into the<br />

country for use in Bangkok was a foreigner who later sold<br />

it to Field Marshal Chaophraya Surasakdi Montri (Joem<br />

Saeng-xuto), who then became the first Siamese person<br />

to own a private automobile. Following that, in 1904, the<br />

king ordered a Mercedes-Benz 28HP to be used as the<br />

first royal automobile and in 1905, another Mercedes-Benz<br />

was ordered. Since then motorcars became widespread<br />

amongst members of the royal family, nobilities, and<br />

wealthy merchants in general. There were up to 251 cars<br />

in Bangkok during the period of Rama V and according to<br />

the trend, automobiles came to play an important role in<br />

travelling as well as in the way of life and values adopted<br />

by people in the society during subsequent periods.<br />

Reforming the country in various different aspects<br />

สถาปนิกชาวอิตาเลียน เข้ามากรุงเทพฯ ใน พ.ศ. 2450<br />

เพื่อมาร่วมงานกับนายตามานโยในการออกแบบพระที่นั่ง<br />

อนันตสมาคม ส่วนนายคาร์ล ดือห์ริง เป็นสถาปนิก<br />

ชาวเยอรมันเข้ามาทำงานในฐานะวิศวกรของ<br />

กรมรถไฟใน พ.ศ. 2450 ต่อมาใน พ.ศ. 2452 ได้ย้ายไป<br />

รับตำแหน่งสถาปนิกและวิศวกรในกระทรวงมหาดไทย<br />

ดือห์ริงยังเป็นสถาปนิกชาวต่างประเทศคนแรกที่เขียน<br />

วิทยานิพนธ์ปริญญาเอกเรื่องเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมไทย<br />

งานด้านวิศวกรรมนั้นผู้ที่มีบทบาทสำคัญคือ นายคาร์โล<br />

อัลเลกรี วิศวกรชาวอิตาเลียนซึ่งเข้ามารับราชการใน<br />

ตำแหน่งวิศวกรกรมโยธาธิการ และได้รับตำแหน่ง<br />

หัวหน้าวิศวกรใน พ.ศ. 2435 ชาวอิตาเลียนที่ฝาก<br />

ผลงานสำคัญด้านศิลปะเอาไว้อีกคนหนึ่งได้แก่ นายริโกลี<br />

จิตรกรผู้เขียนภาพสีเฟรสโกที่พระที่นั่งอนันตสมาคม<br />

วังบางขุนพรหม และวัดราชาธิวาส<br />

กรุงเทพฯ เป็นศูนย์กลางของการพัฒนาประเทศ<br />

ในฐานะเมืองหลวง ดังนั้นจึงกลายเป็นศูนย์กลางของ<br />

กิจกรรมต่างๆ อย่างคึกคัก เช่น ท่าเรือระหว่างประเทศ<br />

ศูนย์กลางการพาณิชย์ ศูนย์กลางการบริหารราชการ ศูนย์<br />

เศรษฐกิจ ฯลฯ จำนวนประชากรเพิ่มขึ้นเป็น 600,000 คน<br />

required using people with deep knowledge and understanding<br />

of the concept and principles that are involved, in order<br />

to achieve the objectives that shall become a stable<br />

foundation for further developments. Aware of this, the<br />

king therefore hired many foreigners and employed them<br />

in various governmental department positions. In 1906,<br />

there were altogether 44 foreign advisors and 247 foreign<br />

employees delegated to different ministries; of these, 126<br />

were British.<br />

Notable foreigners employed in the field of art and<br />

architecture were European architects Joachim Grassi,<br />

who arrived in Bangkok around 1870, Mario Tamagno,<br />

who served in the Department of Public Works since<br />

1900 and later became Chief Architect in 1910, and<br />

Annibale Rigotti, who came to Bangkok in 1907 to work<br />

with Tamagno in designing the new Ananta Samakhom<br />

Throne Hall. Apart from that, there was also a German<br />

architect Karl Döhring, who came to work as an engineer<br />

for the Railways Department in 1907. Two years later, he<br />

was transferred to serve as architect and engineer in the<br />

165

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!