08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

พระราชประสงค์ที่จะให้ชาวสยามทุกคนพัฒนาความเป็น<br />

อยู่ในบ้านเรือนของตนโดยใช้วัสดุก่อสร้างอันถาวรและ<br />

มีความประณีตทางสถาปัตยกรรม ดังนั้นจึงทรงมีพระบรม<br />

ราชโองการให้พระราชวงศ์และขุนนางชั้นผู้ใหญ่ทำตัว<br />

เป็นแบบอย่างโดยการจัดบ้านเรือนให้เป็นตัวอย่างแก่<br />

ราษฎร เพื่อแสดงว่าคนไทยมีความคิดและความเป็นอยู่<br />

ทัดเทียมกับความเจริญของประเทศในยุโรป<br />

สำหรับการสร้างพระราชมณเฑียรตั้งแต่ต้น<br />

รัชกาลนั้น พระที่นั่งองค์สำคัญที่สุดในพระบรมมหาราชวัง<br />

คือ พระที ่นั่งจักรีมหาปราสาทซึ่งเป็นงานแบบนีโอ<br />

เรอเนอซองส์ แต่หลังคาเป็นทรงมณฑปแบบไทย<br />

ประเพณีซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของพระมหากษัตริย์<br />

ขณะเดียวกันก็แสดงให้เห็นถึงการประนีประนอมกัน<br />

ระหว่างแนวคิดของชนชั้นสูงรุ่นใหม่ซึ่งนิยมตะวันตก<br />

และแนวคิดอนุรักษ์นิยมของกลุ่มขุนนางชั้นผู้ใหญ่<br />

การสร้างอาคารพักอาศัยแบบตะวันตกของสมาชิก<br />

ในพระราชวงศ์และขุนนางชั้นสูงนั้น นิยมสร้างเป็น<br />

บ้านสองชั้น มีรูปแบบที่หลากหลาย เช่น วังบางขุนพรหม<br />

เป็นแบบนีโอบาโรค บ้านเจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์เป็น<br />

แบบนีโอโกธิค เป็นต้น โครงสร้างมีความมั่นคงแข็งแรง<br />

Chakri Maha Prasat Throne Hall, which was the most<br />

important building in the Grand Palace built during the<br />

period, was initially designed in the Neo-Renaissance style<br />

with domed roofs. However, the domes had to be changed<br />

into the mondop style superstructure to symbolize the<br />

Siamese kingship. This combined manner of architectural<br />

expression was thus a reflection of compromise between<br />

the new generation of elites who preferred the western<br />

style, and the more conservative high ranking officials.<br />

Residences of the royalties and high ranking officials<br />

were popularly built as two-storeyed masonry houses<br />

in a variety of western styles. To name a couple, Bang<br />

Khunphrom Palace was built in Neo-Baroque style while<br />

Chaophraya Suravongse Vaiyavatana’s house was built in<br />

Neo-Gothic style for instance. These were strong stable<br />

structures that used masonry load-bearing wall system<br />

or reinforced concrete together with brick masonry which,<br />

towards the end of the reign, reinforced concrete had<br />

become the more favorable type of construction among<br />

the upper class because it was considered avant-garde<br />

เป็นแบบเครื่องก่อ (Masonry) กำแพงรับน้ำหนัก (Wall<br />

Bearing) หรือโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กผสมเครื่องก่อ<br />

และในตอนปลายรัชกาลที่ 5 นั้น มีความนิยมในการสร้าง<br />

อาคารด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กมากขึ้นในหมู่ชนชั้นสูง<br />

เนื่องจากเป็นโครงสร้างแบบใหม่ที่เพิ่งเข้ามาในกรุงเทพฯ<br />

ดังนั้นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กจึงหมายถึงความ<br />

ทันสมัยของผู้เป็นเจ้าของบ้าน<br />

ส่วนการสร้างบ้านแบบตะวันตกของสามัญชนนั้น<br />

ก็คือการสร้างบ้านไม้สองชั้นเลียนแบบบ้านตึกของชนชั้นสูง<br />

ซึ่งน่าจะเริ่มขึ้นราวๆ พ.ศ. 2435 และแบบบ้านซึ่งเป็น<br />

ที่นิยมกันมากทั้งในกรุงเทพฯ และตามต่างจังหวัดก็คือ<br />

บ้านไม้ฉลุลาย (Gingerbread House) เพราะเป็นบ้าน<br />

ที่มีความสวยงาม ทันสมัย และราคาถูกกว่าบ้านตึก<br />

ในสมัยรัชกาลที่ 6 นั้น พระราชวังที่สำคัญที่สุดซึ่ง<br />

สร้างในกรุงเทพฯ ได้แก่ พระราชวังพญาไท อันเป็น<br />

พระราชวังที่มิได้มีลักษณะเชิงประเพณี แต่สร้างแบบ<br />

ตะวันตกในแนวสถาปัตยกรรมโรมันติกที่มีลักษณะ<br />

เรียบง่าย พระที่นั่งองค์ประธานซึ่งเป็นที่ประทับใน<br />

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวคือ พระที่นั่งพิมานจักรีนั้น<br />

แฝงนัยแห่งสัญลักษณ์ของพระมหากษัตริย์เอาไว้ที่<br />

and symbolized modernity at the time.<br />

The average commoners on the other hand, built<br />

western style two-storeyed timber houses imitating the<br />

concrete masonry mansions of the upper class. This trend<br />

appears to have started around 1882 with the most popular<br />

style, built in Bangkok as well as in the provinces, being<br />

the style that had perforated sawn-timber decorations<br />

commonly known as the Gingerbread style. The popularity<br />

of this style derived from its distinctive expressions through<br />

the elegant sawn-work ornamentations while the cost of<br />

construction was also considerably cheaper than building<br />

concrete houses.<br />

During the following reign of Rama VI, the most<br />

important royal palace built in Bangkok to represent his<br />

majesty that ought to have been built according to tradition,<br />

was Phayathai Palace. Built in simple Romantic<br />

style, this western-influenced royal palace was the first<br />

royal residence to symbolize Siamese kingship without<br />

being built in the traditional manner. In this case, the<br />

representation of Siamese kingship was cleverly disguised<br />

223

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!