08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

จำนวน 6 องค์ โดยมีพระที่นั่งพิมานจักรี เป็นพระที่นั่ง<br />

องค์ประธาน มีหอสูง 17 ยอดแหลม (Spired Tower) อยู่<br />

ที่มุมพระที่นั่งด้านทิศตะวันออก ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ<br />

เรือนยอด (Spired Building) แทนที่อาคารที่มีหลังคา<br />

แบบเรือนยอด (Spired Superstructure) เช่น หลังคา<br />

ยอดมณฑป ซึ่งเป็นสัญลักษณ์เชิงประเพณีของที่ประทับ<br />

ในพระมหากษัตริย์ เช่น ยอดมณฑปของพระที่นั่งจักรี<br />

มหาปราสาท เป็นต้น<br />

สถาปนิกผู้รับผิดชอบในการออกแบบได้แก่ นาย<br />

มาริโอ ตามานโย ผู้ซึ่งมีตำแหน่งเป็นหัวหน้าสถาปนิกใน<br />

กรมโยธาธิการ ลักษณะโดยรวมของพระราชวังสะท้อน<br />

ความเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทันสมัย หลีกเลี่ยงภาพ<br />

ของมิติเชิงประเพณี โครงสร้างอาคารเป็นเสา-คาน<br />

คอนกรีตเสริมเหล็ก ซึ่งทำให้สามารถสร้างช่องเปิด<br />

สำหรับระบายอากาศได้ดี หลังคาทรงปั้นหยา ลักษณะ<br />

ภายนอกเรียบเกลี้ยงไม่มีลวดลายตกแต่งที่ซับซ้อนใดๆ<br />

ส่วนการตกแต่งภายในพระที่นั่งพิมานจักรีนั้น<br />

ค่อนข้างเรียบง่าย มีการตกแต่งด้วยภาพเขียนสี<br />

ประดับตามเพดานและส่วนบนของผนังเป็นลวดลาย<br />

พรรณพฤกษาและภาพพญามังกร อันเป็นสัญลักษณ์<br />

Construction of the palace began in 1909. In 1919,<br />

the king ordered all buildings built in the period of Rama V<br />

be taken down except for Phra Thinang Devaraj Sabharom<br />

Hall, and build five new buildings, thus totaling six altogether,<br />

with Phra Thinang Phiman Chakri as the Main Hall. The<br />

Hall has a spired turret 17 on the east corner of the building<br />

to represent a building with spired superstructure as in<br />

the past, such as Chakri Maha Prasat Throne Hall with<br />

the mondop style roof that was normally used as the<br />

traditional iconographic symbol to indicate the monarch’s<br />

place of residence.<br />

The architect responsible for the design of Phiman<br />

Chakri was Mario Tamagno who was the Chief Architect of<br />

the Ministry of Public Works. The overall design projected<br />

the image of a modern king by avoiding any allusions to<br />

traditional elements. The hipped roof building used reinforced<br />

concrete post-and-beam type structure and therefore many<br />

openings can be placed to allow proper ventilation while<br />

the exterior facades were kept plain and simple without<br />

elaborate ornamentations. The interior decoration of the<br />

ของปีพระราชสมภพ ลวดลายดังกล่าวเขียนขึ้นในแบบ<br />

อาร์ต นูโว ซึ่งเป็นนัยทางศิลปะหมายถึงความทันสมัย<br />

พระที่นั่งในพระราชวังพญาไทที่แสดงให้เห็นถึง<br />

คุณภาพของงานออกแบบสถาปัตยกรรมที่สร้างสรรค์โดย<br />

สถาปนิกชาวอิตาเลียนได้แก่ พระที่นั่งเทวราชสภารมย์<br />

ซึ่งสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2462 เพื่อใช้เป็นท้องพระโรง<br />

ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระพันปีหลวงยังทรงพระชนม์ชีพอยู่<br />

ต่อมาเมื่อสมเด็จพระราชชนนีสิ้นพระชนม์ลงจึงได้<br />

โปรดเกล้าฯ ให้ใช้เป็นท้องพระโรงสำหรับประกอบ<br />

พระราชพิธีหรือใช้เป็นโรงละครตามแต่โอกาส สถาปนิก<br />

ได้แก่ นายมาริโอ ตามานโย ผังเป็นแบบ Latin Cross<br />

มีหลังคาโดมคลุมตรงจุดตัดกันของกากบาท โครงสร้าง<br />

โดยทั่วไปเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก หลังคามุงด้วยตะกั่ว<br />

บริเวณพนักระเบียง หูช้างประดับเสาและชายคา<br />

ล้วนตกแต่งด้วยลวดลายฉลุ ภายในอาคารตกแต่ง<br />

ด้วยภาพเขียนลวดลายพรรณพฤกษาแบบอาร์ต นูโว<br />

ผสมผสานกับรูปคน<br />

พระราชวังสนามจันทร์เป็นพระราชวังที่พระบาทสมเด็จ<br />

พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นที่จังหวัด<br />

นครปฐมตั้งแต่ราว พ.ศ. 2450 เป็นต้นมา และเป็นที่<br />

building was also relatively plain with images painted on<br />

the ceiling, and mural paintings of foliage and dragons<br />

on the upper part of the wall representing the year of the<br />

king’s birth designed in the style of Art Nouveau so as to<br />

convey the image of modernity.<br />

Another building at Phayathai Palace that exhibited<br />

quality creative design by the Italian architect Tamagno was<br />

Phra Thinang Devaraj Sabharom. Built in 1919, it served<br />

as the audience hall at the time when Somdej Phra Sri<br />

Bajarindra the Queen Mother (Queen Saovabha Phongsri)<br />

was still alive. After she had passed away, the hall was used<br />

for royal ceremonies and as a theatre on occasions. The<br />

architect designed the plan in the shape of a Latin cross<br />

with a domed roof over the central space where the arms<br />

intersect. The reinforced concrete structure was roofed<br />

with lead tiles while balustrades on the veranda, corner<br />

brackets on posts, and eaves of roofs were decorated<br />

with perforated sawn-timber work. The interior was also<br />

decorated with floral patterns and images of people painted<br />

in the Art Nouveau style.<br />

192

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!