08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ปราโมทย์มไหสวรรย์ ผังของพระที่นั่งทั้งสองนั ้นมี<br />

ลักษณะของการวางผังเช่นเดียวกันกับพระที่นั่งอมรินทร<br />

วินิจฉัยต่อกับพระที่นั่งไพศาลทักษิณ ในพระบรม<br />

มหาราชวัง รูปตั้งด้านหน้าของพระที่นั่งเพชรภูมิไพโรจน์<br />

มีการจัดระเบียบช่องเปิดอย่างเรียบง่าย ชั้นบน<br />

จัดจังหวะช่องสี่เหลี่ยมผืนผ้า ส่วนชั้นล่างมีลักษณะเป็น<br />

จังหวะคล้ายการจัดซุ้มโค้งเรียงกัน 5 ซุ้ม (Arcade) มี<br />

การจัดองค์ประกอบหัวเสาคลาสสิคแบบเสาทัสกัน<br />

(Tuscan) แต่การจัดระเบียบสัดส่วนของเสาก็ยัง<br />

ไม่ค่อยถูกต้องนัก อย่างไรก็ดีความก้าวหน้าที่สำคัญคือ<br />

การใช้โครงสร้างแบบทรัส (Truss) ที่โครงหลังคาของ<br />

พระที่นั่งเพชรภูมิไพโรจน์<br />

พระที่นั่งเวชยันต์วิเชียรปราสาท ตั้งอยู่ทางด้านหลัง<br />

และอยู่ในกลุ่มอาคารชุดเดียวกันกับพระที่นั่งเพชรภูมิ<br />

ไพโรจน์และพระที่นั่งปราโมทย์มไหสวรรย์ ทั้งนี้เพราะ<br />

พระที่นั่งองค์นี้เป็นสัญลักษณ์ของพระมหากษัตริย์ซึ่ง<br />

แสดงออกที่ลักษณะของหลังคาทรงปราสาท ผังเป็น<br />

รูปจตุรมุข ยอดปรางค์ 5 ยอด ปรางค์ใหญ่อยู่ตรงกลาง<br />

และปรางค์เล็กอยู่ตรงมุมทั้งสี่ องค์ปรางค์ตั้งอยู่บน<br />

ฐาน 3 ชั้น ฐานชั้นบนสุดมีโดมโปร่งที่มุมทั้งสี่ภายใน<br />

Khiri or Khao Wang in the province of Phetchaburi.<br />

Phra Nakorn Khiri<br />

Phra Nakorn Khiri is a palace that Rama IV had built as<br />

a vacation retreat in Phetchaburi province on Maha Sawan<br />

(Maha Samana) Mountain or Khao Wang. The mountain<br />

has three peaks. The highest peak is the central one which<br />

has the pagoda Chedi Phra Dhat Jomphet built on it. The<br />

east peak has Wat Phra Kaew Noi temple, and the west<br />

peak is where the royal quarters is situated.<br />

The most important buildings in the royal quarters<br />

are Phra Thinang Phetbhumi Phairoj, which is a hall, and<br />

Phra Thinang Pramote Mahai Sawan, which has the royal<br />

bed-chamber on the upper floor, and a hall for the royal<br />

guards on the lower floor. Phra Thinang Phetbhumi Phairoj<br />

has a rectangular plan with bays projecting outwards at<br />

both ends annexing Phra Thinang Pramote Mahai Sawan,<br />

and is similar to Phra Thinang Amarindra Vinitchai which is<br />

annexed to Phra Thinang Phaisan Thaksin in The Grand<br />

Palace. Façade treatment on Phra Thinang Phetbhumi<br />

Phairoj is plain and simple. The upper part has rectangular<br />

ประดิษฐานพระบรมรูปรัชกาลที่ 4 ลักษณะผสมผสาน<br />

ของสถาปัตยกรรมแบบไทยประเพณีและสถาปัตยกรรม<br />

แบบตะวันตกนี้คล้ายกับต้องการสื่อความหมายของ<br />

สถานภาพของพระมหากษัตริย์เชิงประเพณีและการ<br />

บูรณาการความเป็นอารยะแบบตะวันตกเข้าด้วยกัน<br />

พระที่นั่งราชธรรมสภา ใช้เป็นที่ประชุมหรือ<br />

บรรยายธรรม ผังสี่เหลี่ยมผืนผ้าก่ออิฐฉาบปูน หลังคา<br />

เป็นหลังคาเก๋งจีน สันหลังคาทางด้านสกัดตกท้องช้าง<br />

เล็กน้อย รูปด้านใช้วิธีการจัดระเบียบซุ้มโค้งต่อกันเป็น<br />

แนวคล้าย Arcade มีเสาประดับ หัวเสาคล้ายหัวเสาไอโอนิค<br />

แต่ทรงเสามีลักษณะอวบอ้วน เหนือเสาเป็นภาพนูนต่ำ<br />

ลักษณะคล้ายภาชนะทรงกลม ปักเครื่องประดับคล้ายธง<br />

มีประตูสีเขียวยอดโค้งตลอด 3 ด้านของพระที่นั่ง ด้านหน้า<br />

มีทางเข้าตรงกลางเป็นประตูยอดโค้งสีเขียวอยู่ระหว่าง<br />

หน้าต่างยอดโค้งสีเขียวเช่นเดียวกัน<br />

หอชัชวาลเวียงชัย เป็นหอประภาคารและหอดูดาว<br />

ผังกลมคล้ายผังโบสถ์คลาสสิค มีบันไดเวียน หลังคา<br />

หอสูงซึ ่งอยู่ตรงกลางนั้นเป็นหลังคารูปโดมมุงด้วย<br />

แผ่นกระจกใส รูปด้านเป็นการจัดระเบียบซุ้มโค้งซึ่งวาง<br />

เป็นจังหวะรอบผังวงกลม ซุ้มโค้งวางอยู่บนเสากลมรับ<br />

openings while the lower part has an arcade with five<br />

arches. The columns on the other hand, have rather unusual<br />

proportions with Tuscan style capitals. Nevertheless, the<br />

use of trusses for the roof structure was an important sign<br />

of advancement at the time.<br />

Phra Thinang Vejayan Vichian Prasat is located at<br />

the back in the same group of buildings with Phra Thinang<br />

Phetbhumi Phairoj and Pramote Mahai Sawan. This building<br />

is symbolic of the king as represented by its prasat-style<br />

roof. It has the plan of a Greek-cross with five-pranged<br />

superstructure. The largest prang is at the center with the<br />

four smaller ones at each of its corners. All five prangs<br />

sit on a three-tiered base which has exposed skeletal<br />

dome-rib structure at each corner of the top tier. Inside<br />

the building there is a statue of Rama IV. This suggests<br />

a sense of the conservative status of the king in the<br />

context of adopting Western style civilization through the<br />

integration of Traditional Thai style architecture with the<br />

Western style influence.<br />

Phra Thinang Rajdharma Sabha was used as a<br />

159

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!