08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

เกิดการก่อตัวของชนชั้นกลางขึ้นในสังคม รวมถึง<br />

ชนชั้นปัญญาชนที่รู้สึกว่าตัวเองได้รับความเมตตาจาก<br />

รัฐบาล คนชั้นปัญญาชนนี้เป็นผู้ก่อตั้งและปฏิรูป และ<br />

ขยายมหาวิทยาลัยต่างๆ สังเกตได้จากการที่มีอาจารย์<br />

มหาวิทยาลัยทำงานเต็มเวลาเพิ่มมากขึ้น คนเหล่านี้<br />

มองว่าระบอบการปกครองแบบถนอมนั้นเริ่มไม่เข้ากับ<br />

ยุคสมัย หากมองย้อนกลับไปการล่มสลายของระบอบ<br />

การปกครองแบบถนอมนั้น ก็เกิดจากการลุกฮือของ<br />

นักเรียนนักศึกษาหรือคนชั้นปัญญาชนที่ออกมาขับไล่<br />

เมื่อ พ.ศ. 2516 ดูเหมือนจะเป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้<br />

แต่ในขณะนั้นมันก็ดูน่าประหลาดใจในความกะทันหัน<br />

ของเหตุการณ์<br />

วิกฤตน้ำมัน : การเล่นกระดานหกบนขอบผา<br />

(พ.ศ. 2516 - 2528)<br />

ยุคของถนอมนั้นล่มสลายลงในสัปดาห์เดียว และ<br />

การคว่ำบาตรของกลุ่มประเทศอาหรับ ซึ่งทำให้เกิด<br />

วิกฤตการน้ำมันครั้งแรก พ.ศ. 2516 นั้นเป็นปีที่โลก<br />

ระส่ำระสาย กว่าสองทศวรรษของการขยายตัวของ<br />

ประเทศอุตสาหกรรมทั้งหลายมาถึงจุดสิ้นสุด ความ<br />

triumphant, a loan of 20 billion baht to purchase arms to<br />

fight the Communists was approved by the Cabinet. This<br />

was followed by further loans which were easily enough<br />

obtained. Recall that this was a period when foreign<br />

commercial banks were awash in petro-dollars, and the<br />

famous statement made by one of their managers:<br />

“Nations do not go bankrupt”. In the early stages, in fact,<br />

Thailand was from their point of view quite an attractive<br />

borrower, having previously been following a conservative<br />

borrowing policy, and whose stock of debt owed to<br />

foreigners was almost balanced by its healthy reserves.<br />

By 1985, the combined public and private sector<br />

indebtedness to foreign lenders had ballooned to 39 per<br />

cent of GDP from less than one per cent in 1973. 5 Both<br />

public and private sectors (particularly the commercial<br />

banks) expanded their indebtedness, but the public sector’s<br />

debt grew at a faster rate, so that by 1985, it stood at 60<br />

per cent of the total stock of net debt.<br />

Foreign debt as high as 40 per cent of GNP was not<br />

excessive. Had the funds borrowed during this period<br />

มั่นใจในเศรษฐกิจโลกนั้นเริ่มเสื่อมสลายลง<br />

สำหรับประเทศไทยแล้วเป็นปลายทางของฝั่งหนึ่ง<br />

การเปิดกว้างทางการเมืองก่อให้เกิดการเรืองอำนาจ<br />

ของระบอบรัฐสภา ตั้งแต่นั้นมาเหล่าบรรดานายพลทั้ง<br />

หลายที่เข้ามาเป็นรัฐบาล หรือยึดอำนาจเข้ามาต่างก็<br />

ต้องผ่านการเห็นชอบจากสมาชิกรัฐสภาก่อนถึงจะได้<br />

ขึ้นเป็นผู้นำได้ ระบบการแข่งขันทางการเมืองเช่นนี้ก็<br />

สร้างผลดีให้กับประเทศในระยะยาว แต่เพียงไม่นานใน<br />

ช่วงตั้งแต่ พ.ศ. 2516 ถึง ประมาณ พ.ศ. 2523<br />

นักการเมืองไทยกลับแบ่งเป็นฝักแบ่งเป็นฝ่ายอีกครั้ง<br />

ระบบการจัดการแบบมหภาคนั้นได้ถูกสร้างขึ้นมา<br />

ในยุคสฤษดิ์ และยังคงดำเนินต่อเนื่องโดยไม่มีการ<br />

เปลี่ยนแปลงโครงสร้างมากนัก มีสมมติฐาน 2 ประการ<br />

ที่แสดงให้เห็นว่าระบบนี้ใช้ไม่ได้ดีอีกต่อไปคือ เมื่อมอง<br />

ในมุมภายในประเทศโครงสร้างของระบบการเมืองแบบ<br />

เบ็ดเสร็จนี้ที่ไม่ขึ้นอยู่กับหลักประชานิยม ผลักดันให้<br />

เกิดการใช้จ่ายฟุ่มเฟือยโดยมีระบบภาษีควบคุมอยู่<br />

ส่วนมุมของระหว่างประเทศนั้นจะเห็นได้ว่าระดับของ<br />

เสถียรภาพของเศรษฐกิจโลกและระบบการเงินของโลก<br />

นั้นไม่ได้มั่นคงอย่างที่เคยเป็นมาอีกต่อไป ในการที่จะก้าว<br />

ข้ามและหาทิศทางของประเทศให้ผ่านอุปสรรคทั้งจาก<br />

been used for productive investments, the increased<br />

indebtedness would have been sustainable. However,<br />

this was not the case. Arms purchases with borrowed<br />

money have already been alluded to. With the second<br />

oil shock, further loans were contracted to finance the<br />

public sector deficits – deficits which were incurred<br />

because of the government reluctance to adjust domestic<br />

prices of energy and of many public utilities to reflect the<br />

new configuration in the world markets. Furthermore, the<br />

tying of the baht to the dollar which was rapidly appreciating<br />

between 1978 and 1985, stimulated imports, reduced<br />

export competitiveness (particularly for industrial goods),<br />

and brought in high interest rates as a consequence of<br />

the tight money policies of the Federal Reserve Bank in<br />

the US. The high interest rate in turn discouraged<br />

investment and resulted in higher payments to service<br />

existing loans. All of this played havoc with the current<br />

account of the balance of payments, the deficit on which<br />

rose to more than 6 per cent of GNP in 1978-1980 and<br />

in 1982.<br />

81

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!