08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

สมัยอิทธิพลตะวันตก (รัชกาลที่ 4 - รัชกาลที่ 8 พ.ศ.<br />

2394 - <strong>2489</strong>) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

ทรงเข้าพระราชหฤทัยในเรื่องสถานการณ์ทางการเมือง<br />

ระหว่างประเทศได้ดี และทรงตระหนักถึงภัยคุกคามทาง<br />

การเมืองจากมหาอำนาจตะวันตก จึงได้ทรงเซ็นสัญญาเบาว์ริง<br />

กับสหราชอาณาจักร และยินยอมให้สหราชอาณาจักร<br />

ได้รับสิทธิในการมีสิทธิสภาพนอกอาณาเขต กฎหมาย<br />

ฉบับนี้ทำให้สหราชอาณาจักรได้ประโยชน์ในการทำธุรกิจ<br />

กับสยาม ทั้งยังทำให้สยามอยู่ในฐานะเสียเอกราชใน<br />

ทางศาล แต่สยามก็ต้องยินยอมเพื่อเป็นการผ่อนคลาย<br />

สถานการณ์ทางการเมือง ขณะเดียวกันรัชกาลที่ 4<br />

ก็ทรงใช้นโยบายด้านวัฒนธรรมในการแก้ไขปัญหา<br />

โดยการแสดงตนเป็นผู้มีอารยะผ่านทางงานสถาปัตยกรรม<br />

นอกจากนี้แล้วก็ยังมีการปรับตัวของกลุ่มชนชั้นผู้นำ<br />

ของสยามในการศึกษาวิชาการด้านต่างๆ ของชาวตะวันตก<br />

เช่น การศึกษาภาษาอังกฤษ การต่อเรือกลไฟ เป็นต้น<br />

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง<br />

เป็นผู้นำในการแสดงตนเป็นผู้เจริญผ่านทางงาน<br />

สถาปัตยกรรมโดยการสร้างพระราชมณเฑียรหรือ<br />

ที่ประทับของพระมหากษัตริย์ในแบบสถาปัตยกรรม<br />

strategy to ease western threats by demonstrating through<br />

architecture that Siam is a civilized nation. In addition,<br />

the elites also began to adapt themselves by learning<br />

to use the English language, becoming familiar with<br />

western customs, and gaining new knowledge of varying<br />

interests from the West which included the construction<br />

of steamships for example.<br />

Rama IV led the move in demonstrating that Siam<br />

is a civilized nation through architecture by having royal<br />

residences and other buildings built in western style. The<br />

original Ananta Samakhom Throne Hall, which was the<br />

principal building in Phra Abhinaonives group of buildings<br />

erected in the east garden section of the Grand Palace<br />

between 1852 and 1857 for example, had classic style<br />

columns and combination of round and pointed arches.<br />

Buildings that were built in western style during the period<br />

however, were not designed strictly according to any<br />

western architectural theories or principles, and western<br />

influence was confined mainly to within royal palaces<br />

while commoners still lived in traditional Thai houses that<br />

ตะวันตก เช่น พระที่นั่งอนันตสมาคม ซึ่งเป็นพระที่นั่ง<br />

องค์ประธานในพระอภิเนาว์นิเวศน์ สร้างขึ้นบริเวณ<br />

สวนขวาในพระบรมมหาราชวังระหว่าง พ.ศ. 2395 -<br />

2400 พระที่นั่งองค์นี้มีการตกแต่งภายในด้วยเสาแบบ<br />

คลาสสิค การเจาะช่องผนังเป็นแบบผสมผสานมีทั้งแบบ<br />

ซุ ้มโค้ง (Round Arch) และแบบซุ้มยอดแหลม อย่างไร<br />

ก็ดีงานสถาปัตยกรรมแบบตะวันตกในสมัยรัชกาลที่ 4<br />

ยังเป็นงานเลียนแบบที่ไม่ค่อยมีความถูกต้องทางด้าน<br />

ทฤษฎีสถาปัตยกรรมนัก และอิทธิพลของสถาปัตยกรรม<br />

ตะวันตกนั้น ยังคงปรากฏเฉพาะในงานออกแบบอาคาร<br />

ในพระราชวังเท่านั้น ส่วนสามัญชนก็ยังคงอยู่อาศัย<br />

ในเรือนไทยแบบประเพณีอย่างที่เคยเป็นมาตั้งแต่<br />

สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น<br />

การปฏิรูปประเทศในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ<br />

พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระราชกรณียกิจที่มี<br />

ความสำคัญยิ่ง เพราะเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการพัฒนา<br />

ประเทศในสมัยต่อมา ส่วนในด้านสถาปัตยกรรมนั้น ได้<br />

ทรงจ้างสถาปนิกชาวยุโรปเข้ามารับราชการในกรุงเทพฯ<br />

เพื่อให้มีความรับผิดชอบในการสร้างงานสถาปัตยกรรม<br />

แบบตะวันตกอย่างถูกต้องและมีรสนิยม และได้ทรงมี<br />

continued to be built since Ayutthaya through to the early<br />

Rattanakosin period.<br />

During the succeeding reign of King Chulalongkorn<br />

(Rama V), reformation of the country was highly significant<br />

because it provided a strong foundation for subsequent<br />

development of the kingdom. With regards to architecture,<br />

the king employed European architects to serve in various<br />

government departments in order to produce tasteful<br />

works of quality according to correct design principles<br />

of western style architecture. As for residential buildings,<br />

the king’s objective was for his subjects to organize<br />

and maintain their residences by building well designed<br />

western style houses and using durable building materials.<br />

He therefore instructed royal members and high ranking<br />

officials to be model examples for commoners to follow<br />

and to demonstrate that Siamese people possessed the<br />

mentality and way of life that was on equal level with those<br />

in civilized European countries.<br />

Since the beginning of the reign, Rama V chose to<br />

commission professional European architects. Therefore<br />

222

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!