08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

่<br />

การเกษตรนั้นมีไม่มากนัก ทำให้มีผู้คนอีกมากที่จำเป็น<br />

ต้องอยู่บ้านเฉยๆ ในหลายพื้นที่ชาวบ้านยังใช้ระบบ<br />

แลกเปลี่ยนข้าวของเครื่องใช้ด้วยแรงงานและการ<br />

บริการ เพราะในพื้นที่เหล่านั้นขาดแคลนเงินสดในท้อง<br />

ถิ่นและค่าใช้จ่ายของการเดินทางที่แพงมาก มากกว่า<br />

ความรังเกียจที่จะใช้ระบบแลกเปลี่ยนด้วยเงินตรา<br />

การพาณิชย์ของประเทศถูกขับเคลื่อนภายใต้<br />

อิทธิพลของชาวจีนที่มีเอกลักษณ์ และแยกตัวชัดเจน<br />

ออกจากกลุ่มคนไทย เป็นแบบฉบับที่ “ข้าว” นั้นจะสร้าง<br />

รายได้ดีกว่าเกินครึ่งของการส่งออกของประเทศ ส่งผล<br />

ให้การค้าข้าวเป็นธุรกิจที่ได้รับการนับหน้าถือตาจาก<br />

บรรดาธุรกิจในแต่ละท้องถิ่น ไม้สัก ดีบุก และยางพารา<br />

พยุงรายได้จากการส่งออกในส่วนที ่เหลือของประเทศ<br />

ซึ่งก็มีธุรกิจกระบวนการแปรรูปอีกจำนวนหนึ่งที่แปรรูป<br />

ผลผลิตเพื่อการส่งออก ได้แก่ ธุรกิจโรงสีข้าว และโรง<br />

ไม้ที่ขยับตัวสนับสนุนการส่งออกอันเป็นที่มาของราย<br />

ได้ของประเทศ<br />

สถานะทางการเงินของประเทศไทยเมื่อสิ้นสุด<br />

สงครามโลกใหม่ๆ นั้น เอาแน่เอานอนอะไรไม่ได้เลย<br />

เป็นผลมาจากการเข้าร่วมสงครามกับฝ่ายญี่ปุ่นใน<br />

million tons of rice to the victorious Allies. True, eventually,<br />

heroic negotiations pared the amount of reparations to<br />

insignificance. But the uncertainty created by the negotiations<br />

and the monopolization of the rice trade caused a great<br />

deal of turmoil in the rice market.<br />

The monetary system was in chaos. During the war,<br />

the Japanese had asked the Thai authorities to issue large<br />

amounts of baht to finance their military expenditures in<br />

Thailand. The baht was supposedly backed by the<br />

issuance of yen credit balances in the Yokohama Specie<br />

Bank. The reserves of course became worthless with the<br />

defeat of Japan, and the baht went into a tailspin. The<br />

inflation of the time, which saw the real value of the currency<br />

depreciate sevenfold toward the end of the war and then<br />

another twenty percent in the first two years after the war,<br />

was the worst ever experienced in Thailand’s economic<br />

history. The inflation did not just erode the real incomes<br />

of the civil servants but almost wiped it out, so that the<br />

incomes of the top echelon among the civil servants was<br />

less than 3 per cent of the level before the war.<br />

The Financial Advisor at the time wrote: “In May 1946<br />

ระหว่างสงคราม ประเทศไทยจำต้องจ่ายค่าปฏิกรรม<br />

สงครามเป็นข้าวจำนวนถึง 2 ล้านตัน เพื่อชดใช้ให้กับ<br />

ฝ่ายพันธมิตรประเทศที่ชนะสงคราม จริงอยู่ที่ผลของ<br />

การเจรจาต่อรองอย่างจริงจังสามารถลดมูลค่าของค่า<br />

ปฏิกรรมสงครามลงจนแทบจะเป็นเรื่องไม่คอขาดบาด<br />

ตาย แต่ถึงกระนั้นความไม่แน่นอนอันเป็นผลมาจาก<br />

การต่อรองต่างๆ ตลอดจนการผูกขาดในการค้าข้าว<br />

ก็ส่งผลความผันผวนอย่างมากมายต่อกลไกทาง<br />

การตลาดของการค้าข้าว<br />

ระบบการเงินนั้นสับสนอลหม่าน ในช่วงสงคราม<br />

ประเทศญี่ปุ่นได้สั่งการให้ไทยผลิตเงินบาทขึ้นมาเพื่อ<br />

สนับสนุนกองทัพพระจักรพรรดิที่ตั ้งฐานทัพอยู่ใน<br />

ประเทศไทย เพื่อทำให้กองทัพญี่ปุ่นนั้นสามารถใช้จ่าย<br />

กันได้อย่างคล่องตัวในช่วงมหาสงคราม เงินบาทนั้น<br />

ควรจะได้รับการประกันเครดิตด้วยเงินเยนตามสัญญา<br />

ที่มีไว้กับ โยโกฮาม่า สปีซี แบงค์ (ปัจจุบันไม่มีอยู่แล้ว<br />

เพราะถูกครอบครองกิจการโดย แบงค์ ออฟ โตเกียว<br />

–ผู้แปล ษิระ น้อยทิพย์) เป็นที่แน่นอนว่าจากการที<br />

ญี่ปุ่นแพ้สงครามนั้น ส่งผลให้เงินทุนสำรองระหว่าง<br />

ประเทศแทบจะไม่เหลือค่าใดๆ ค่าเงินบาทนั้นอยู่ใน<br />

Siam was starting from scratch; the till was completely<br />

empty and the only asset she possessed was her potential<br />

power to acquire stocks of foreign exchange.” 1<br />

The resilience of the Thai economy, that “power to<br />

acquire stocks of foreign exchange”, showed through<br />

quickly. By 1947, inflation had almost disappeared, helped<br />

by the recovery of her exports, soon to be followed by the<br />

commodity boom arising out of the Korean war. The main<br />

reason for this turnaround was the recovery in rice<br />

production from the low levels that prevailed in the highly<br />

insecure conditions in the countryside during the war.<br />

ECONOMIC NATIONALISM AND CORRUPTION: LAYING<br />

THE FOUNDATIONS (1947-1958)<br />

The stabilization achieved by 1947 was based on<br />

a system of multiple exchange rates which generated<br />

considerable foreign exchange profits for the government.<br />

The reverse side of the same coin is that this was an<br />

implicit tax on exports of primary commodities, particularly<br />

rice. The implicit taxation of rice through this mechanism<br />

65

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!